Please use this identifier to cite or link to this item:
http://repository.li.mahidol.ac.th/dspace/handle/123456789/1062
Title: | การใช้ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีในการตรวจตำแหน่งฟันเกิน: รายงานผู้ป่วย 3 ราย |
Other Titles: | Application of cone beam computed tomography for supernumerary tooth |
Authors: | ปรียพร ศรีมาวงษ์ Preeyaporn Srimawong คัมภีร์ ทรงกำพล Khumpee Songkampol พรพจน์ เฟื่องธารทิพย์ Pornpoj Fuangtharnthip ณัฐเมศร์ วงศ์สิริฉัตร Natthamet Wongsirichat Mahidol University. Faculty of Dentistry. Department of Radiology Mahidol University. Faculty of Dentistry. Department of Hospital Dentistry Mahidol University. Faculty of Dentistry. Department of Surgery ปรียพร ศรีมาวงษ์ |
Keywords: | Supernumerary tooth;Computed tomography;Cone beam computed tomography;ฟันเกิน;ภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์;โคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟี;Open Access article;วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล;Mahidol Dental Journal |
Issue Date: | 2553 |
Citation: | ปรียพร ศรีมาวงษ์, คัมภีร์ ทรงกำพล, พรพจน์ เฟื่องธารทิพย์, ณัฐเมศร์ วงศ์สิริฉัตร. การใช้ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีในการตรวจตำแหน่งฟันเกิน: รายงานผู้ป่วย 3 ราย. ว ทันต มหิดล. 2553;30(2):129-39. |
Abstract: | ฟันเกินเป็นความผิดปกติในด้านการพัฒนาจำนวนฟันในขณะฟันมีการก่อหน่อฟัน ฟันนั้นอาจฝังอยู่ในกระดูกขากรรไกรหรือขึ้นมาในช่องปากให้เห็นบางส่วนหรือบางครั้งเห็นเต็มซี่ฟัน กรรีฟันเกินที่ฝังอยู่ในกระดูกขากรรไกรสามารถตรวจพบได้จากภาพรังสีซึ่งในปัจจุบันมีเทคนิคถ่ายภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีสามารถช่วยในการบอกตำแหน่งฟันเกินได้ดีกว่าเทคนิคทั่วไป บทความนี้เป็นรายงานผู้ป่วยที่พบฟันเกิน จำนวน 3 ราย โดยในผู้ป่วยรายที่ 1 พบฟันเกินขึ้นไม่ได้ 2 ซี่ อยู่ในคลองเพดานปากหลังฟันตัด ผู้ป่วยรายที่ 2 พบฟันกรามเกินอยู่ด้านแก้มของฟันกรามซี่ที่สองล่างซ้าย และในผู้ป่วยรายที่ 3 พบฟันเกินอยู่บริเวณรากแยกของฟันกรามซี่ที่หนึ่งบนขวา |
metadata.dc.description.abstractalternative: | Supernumerary tooth is developmental anomaly in number during the formation of the dental germ. These teeth may remain embedded in the alveolar bone or erupt into the oral cavity. When it embedded, the diagnosis is performed through conventional radiographs. In the present, it has new technique calls cone beam computed tomography. These modalities shows the superiority of images compared with conventional radiographs. This paper will report of three cases of supernumerary teeth. The first case shows two embedded supernumerary teeth located in nasopalatine canal. The second case shows paramolar located in buccal side of lower left second molar. The third case shows supernumerary tooth located in furcation of upper right first molar. |
URI: | http://repository.li.mahidol.ac.th/dspace/handle/123456789/1062 |
ISSN: | 0125-5614 (printed) |
Appears in Collections: | DT-Article |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
dt-ar-preeyapo-2553.pdf | 798.69 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.