Please use this identifier to cite or link to this item:
http://repository.li.mahidol.ac.th/dspace/handle/123456789/43981
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ขวัญฤดี โกพลรัตน์ | en_US |
dc.contributor.author | Kwanrudee Koponrat | en_US |
dc.contributor.author | สุพร ดนัยดุษฎีกุล | en_US |
dc.contributor.author | Suporn Danaidutsadeekul | en_US |
dc.contributor.author | นภาพร วาณิชย์กุล | en_US |
dc.contributor.author | Napaporn Wanitkul | en_US |
dc.contributor.author | ระพีพัฒน์ นาคบุญนํา | en_US |
dc.contributor.author | Rapeepat Narkbunnum | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-27T08:43:25Z | - |
dc.date.available | 2019-05-27T08:43:25Z | - |
dc.date.created | 2562-05-27 | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 35, ฉบับที่ 3 (ก.ค. - ก.ย. 2560), 94-105 | en_US |
dc.identifier.uri | http://repository.li.mahidol.ac.th/dspace/handle/123456789/43981 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอํานาจการทํานายของความแตกฉานทางสุขภาพ การจัดการตนเองภาวะการทําหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสุขภาพของผู้ป่วย และการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีดําาเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง จําานวน 112 คน เป็นผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมครั้งแรกที่มารับการตรวจติดตามผลการรักษาหลังผ่าตัด 3-6 เดือน ณ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามส่วนบุคคล แบบประเมินคุณภาพชีวิตแบบวัดความรับผิดชอบต่อสุขภาพของผู้ป่วย แบบสอบถามการจัดการตนเอง แบบประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ แบบสอบถามการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง และแบบประเมินภาวะการทําหน้าที่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์การถดถอยพหุ ผลการวิจัย: ความแตกฉานทางสุขภาพการจัดการตนเองภาวะการทําหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสุขภาพของผู้ป่วย และการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางสามารถร่วมกันทํานายของคุณภาพชีวิตผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมได้ร้อยละ 33.4 อย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติ (R2= .334, F = 10.629, p < .05) โดยปัจจัยที่สามารถทํานายคุณภาพชีวิตได้สูงสุดอย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติ คือ ภาวะการทําหน้าที่ (β = - .335, p < .05) รองลงมา คือ ความรับผิดชอบต่อสุขภาพของผู้ป่วย (β= .249, p < .05) และการจัดการตนเอง (β= .184, p < .05) ตามลําาดับ สรุปและข้อเสนอแนะ : พยาบาลควรตระหนักถึงการส่งเสริมภาวะการทําหน้าที่และการจัดการตนเองที่เหมาะสมในผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม พัฒนารูปแบบการพยาบาลโดยการให้ผู้ป่วยเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสุขภาพวางแผนและปรับรูปแบบการดูแลสุขภาพของตนเอง ซึ่งจะนําไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | en_US |
dc.subject | การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม | en_US |
dc.subject | ความแตกฉานทางสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ความรับผิดชอบต่อสุขภาพของผู้ป่วย | en_US |
dc.subject | การรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.title | ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม | en_US |
dc.title.alternative | Predictors of Quality of Life among Osteoarthritis Patients after Knee Arthroplasty | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.identifier.url | https://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/116104/89458 | - |
dc.description.abstractalternative | Purpose: To study predictive power of health literacy, self-management, functional status, patient engagement, and perceived person-centered care on quality of life of knee osteoarthritis patients after knee arthroplasty. Design: Predictive study design. Methods: The sample consisted of 112 patients with primary osteoarthritis of the knee after first arthroplasty in one tertiary hospital in Bangkok, who came to follow-up at 3 – 6 months after surgery. Data were collected using personal data questionnaire, the assessment of quality of life - 8D, patient health engagement scale, patient activation measure, health literacy questionnaires, consultation care measure, and modified Western Ontario and McMaster Universities osteoarthritis index. Data were analyzed using descriptive statistics and multiple regression analysis. Main findings: Health literacy, self-management, functional status, patient engagement, and perceived person-centered care were accounted for 33.4% of variance in quality of life of patients with statistical significance (R2 = .334, F = 10.629, p < .05). Only functional status, patient engagement, and self-management could significantly predict quality of life of patients with arthroplasty (β = - .335, .249, .184, p < .05, respectively) Conclusion and recommendations: Nurses should be aware of promoting functional status and self-management in patients and develop care models by allowing the patients to engage in healthcare, plan and modify personal healthcare models. This could lead to better quality of life among the patients with osteoarthritis of the knee after arthroplasty. | en_US |
Appears in Collections: | NS-Article |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ns-ar-suporn-2560-2.pdf | 241.99 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.