นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์Nithat Sirichotiratanaมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข2018-11-302018-11-302561-11-302559วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 2, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2559), 225-2422408-249Xhttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/36914ตั้งแต่ต้นปีค.ศ. 2009 เป็นต้นมา วารสารชั้นนำด้านสาธารณสุขตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับ การค้าระหว่างประเทศและสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เป็นสิ่งที่สะท้อนประเด็นของการค้าเสรีและ สุขภาพ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดึงดูดความสนใจ และเรียกร้องให้ชุมชนสาธารณสุขมีส่วนร่วมแสดงบทบาทให้ มากขึ้นในการเจรจาจัดทำนโยบายการค้าระหว่างประเทศ ข้อขัดแย้งระหว่างสาธารณสุขและ การค้าระหว่างประเทศ ประเด็นแรกคือ ข้อขัดแย้งทางทฤษฎีระหว่างการค้าเสรี (trade liberalization) และมาตรการต่างๆ ในการลดการบริโภคสินค้าบางประเภทในระดับประชากร ผลประโยชน์จากนโยบายการค้าเสรี เช่น การแข่งขันทางการค้าซึ่งทำให้ราคาสินค้าต่ำลง กลับ กลายเป็นผลเสียต่อสุขภาพ โดยเฉพาะการกระตุ้นทำให้เกิดการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลเสียต่อ สุขภาพ ส่งผลให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บและการเสียชีวิตซึ่งมีผลกระทบต่อระบบสุขภาพ ภาษีและการที่ รัฐสนับสนุนมีผลต่อราคาของสินค้า ซึ่งมาตรการเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญในการตัดสินใจของผู้บริโภค ประเด็นที่สอง ช่องว่างของความรู้ระหว่างประชาคมทางด้านนโยบายการค้าระหว่างประเทศและ ประชาคมทางด้านสาธารณสุข ทำให้เกิดมุมมองที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องมีการพิจารณา รายละเอียดในประเด็นต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ยาสูบ เนื่องจากปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวนี้มีผลกระทบ สำคัญทั้งด้านสาธารณสุข เศรษฐศาสตร์ และสังคมSince 2009, leading public health journals published series of articles on free trade agreement and health, which reflected and attracted interests on the issue of international trade agreement and health. There are calls for public health community to increase presence and participations in free trade agreement negotiation process. The conflicts between public health and free trade agreement are the following. First, there is a conflict in theory between trade liberalization and control measures for certain goods at population level. Benefits from trade liberalization such as commercial competition which lower the price, but increase negative health impact. Consumers’ decision depends on the price of products. Secondly, gap of knowledge between international trade policy community and public health community, creates different perspectives. Therefore, different issues on tobacco product must be construed carefully, since they have important impact on public health, economics and society.thaมหาวิทยาลัยมหิดลอิทธิพลข้อตกลงการค้าเสรีการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบOpen Access articleวารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุขPublic Health & Health Laws Journalอิทธิพลของข้อตกลงการค้าเสรีต่อการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบImpact of Free Trade Agreements on Tobacco ControlArticleคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล