หทัยกาญจน์ ชึดนอกจีระสุข จงกลวัฒนานุชชญา กุลจารุอมรสุทธินี ทองทิพย์นุชนภางค์ มโนเรืองนันทยา คณาภรณ์ทิพย์ปภัสรา สาลีเดือนเพ็ญ ประจญกล้าธีรนาถ บัวแช่มCheerasook Chongkolwatanaมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-05-212021-05-212564-05-202561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62234ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 11หน่วยผ่าตัดโสตฯให้บริการผู้ป่วยประมาณ 4,600 รายต่อปี การทำผ่าตัดร้อยละ 80- 90 มีการตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา และมีการส่งตรวจมากกว่า 1 ชิ้น สูงสุดเกือบ10 ชิ้น มีการตัดชิ้นเนื้อหลายตำแหน่งแตกต่างกัน บางครั้งไม่สามารถนำชิ้นเนื้อออกมาแช่น้ำยา 10% Neutral Buffered Formalin ได้ทันทีเช่น case ผ่าตัดสายเสียง หรือผ่าตัดโพรงจมูก ต้องรอแพทย์ตัดแบ่ง หรือเลือกชิ้นเนื้อที่ต้องการส่งตรวจ ทำให้เกิดปัญหาเซลล์ชิ้นเนื้อแห้ง หน่วยพยาธิวิทยาไม่สามารถทำการตรวจวินิจฉัยได้ เพื่อป้องกันชิ้นเนื้อแห้ง ได้มีการใช้ผ้าก๊อซชุบน้ำรับชิ้นเนื้อไว้ใน filed พบปัญหาชิ้นเนื้อหายติดไปกับผ้า หรือการแช่ชิ้นเนื้อในถ้วยยา พบว่าการใส่ภาชนะแบบเดียวกัน ไม่มีป้ายระบุตำแหน่งชิ้นเนื้อ อาจเกิดความผิดพลาดได้และแพทย์เขียนชื่อชิ้นเนื้อในใบส่งตรวจไม่ตรงกับที่แจ้งไว้ เกิดการตีกลับใบส่งตรวจหลายครั้ง จึงจัดทำENT Specimen Blocks Memo ขึ้นมา เพื่อป้องกันเซลล์ชิ้นเนื้อแห้งป้องกันความผิดพลาดจากการระบุชื่อและตำแหน่งของชิ้นเนื้อthaมหาวิทยาลัยมหิดลspecimenidentificationsafetyการตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจMahidol Quality FairENT Specimen Blocks MemoProceeding Abstractคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล