Preeyapat MangkalardPloy BeethomasPatchara SangopasCarol HutchinsonWarapone SatheannoppakaoMathuros Tipayamongkholgulปรียาภัทร มังคะลาดพลอย บีโทมัสพัชรา แสงโอภาสCarol Hutchinsonวราภรณ์ เสถียรนพเก้ามธุรส ทิพยมงคลกุลMahidol University. Faculty of Public Health. Department of NutritionMahidol University. Faculty of Public Health. Department of Epidemiology2021-09-272021-09-272021-09-272019Thai Journal of Public Health. Vol. 49, No. 3 (September-Decmber 2019), 377-3882697-584X (Print)2697-5866 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63682Growing internet usage has resulted in increased popularity of web-based tools in nutrition and health education. This research aimed to determine which education delivery medium,Facebook or leaflet, was most successful at increasing knowledge of folate and neural tube defects (NTD) in female university students. This quasi-experimental study (pre-test post-test comparison group design) involved three groups: Facebook folate and NTD education group (FBed) (n=53), leaflet folate and NTD education group (LFed) (n=49) and comparison group (n=47). Socio-demographic information was collected via a questionnaire at pre-test, and participants completed a folate and NTD knowledge quiz at pre-test and post-test. The Wilcoxon signed rank test was used to determine within-group pre-test post-test differences in folate and NTD knowledge score. Between-group differences in knowledge were determined using the Kruskal-Wallis test and the Mann-Whitney U test. Pre-test knowledge of folate and NTD did not differ between the three groups (p=0.408). Post-test knowledge of folate and NTD in both education groups was greater than in the comparison group, and knowledge score in the LFed group was higher than in the FBed group (all p<0.001). Less engagement with the media in the Facebook group could help to explain their lower post-test knowledge scores compared with the leaflet group. Leaflets may be most effective at improving folate and NTD knowledge, and future studies should focus on developing interventions that result in long-term improvements in knowledge and behavioral changeการเติบโตของการใช้อินเตอร์เน็ตส่งผลให้ความนิยมของเครื่องมือทางโภชนาการและสุขศึกษาผ่านเว็บเพิ่มขึ้นงานวิจัยนี้มุ่งค้นหาว่าสื่อการศึกษาแบบใด เฟซบุ๊คหรือแผ่นพับ ประสบผลสําาเร็จในการเพิ่มความรู้เกี่ยวกับโฟเลตและภาวะหลอดประสาทไม่ปิดในนักศึกษาหญิง การวิจัยกึ่งทดลองนี้ (แบบกลุ่มเปรียบเทียบวัดผลก่อนและหลังการทดลอง) ประกอบด้วย 3 กลุ่ม: กลุ่มได้รับความรู้เกี่ยวกับโฟเลตและภาวะหลอดประสาทไม่ปิดผ่านเฟซบุ๊ค (n=53) กลุ่มได้รับความรู้เกี่ยวกับโฟเลตและภาวะหลอดประสาทไม่ปิดผ่านแผ่นพับ (n=49) และกลุ่มเปรียบเทียบ (n=47) เก็บข้อมูลสังคมประชากรใช้แบบสอบถามที่ก่อนการทดลอง และผู้เข้าร่วมวิจัยทําาแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับโฟเลตและภาวะหลอดประสาทไม่ปิดก่อนและหลังการทดลอง การทดสอบเครื่องหมายลําาดับที่ของวิลคอกซันใช้ทดสอบความแตกต่างระหว่างคะแนนความรู้เกี่ยวกับโฟเลตและภาวะหลอดประสาทไม่ปิดก่อนและหลังการทดลอง ภายในกลุ่มเดียวกัน ความแตกต่างของคะแนนความรู้ระหว่างกลุ่มวิเคราะห์โดยใช้การทดสอบของครัสคาลและวัลลิส และการทดสอบของแมนน์ วิทนีย์ ยู ความรู้เกี่ยวกับโฟเลตและภาวะหลอดประสาทไม่ปิดก่อนทดลองไม่แตกต่างระหว่าง 3 กลุ่ม (p=0.408) ความรู้หลังทดลองในกลุ่มได้รับความรู้ทั้ง 2 กลุ่มเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ และคะแนนความรู้ของกลุ่มได้รับความรู้ผ่านแผ่นพับสูงกว่ากลุ่มได้รับความรู้ผ่านเฟซบุ๊ค (all p<0.001) การมีส่วนร่วมที่น้อยกับสื่อในกลุ่มได้รับความรู้ผ่านเฟซบุ๊คช่วยอธิบายคะแนนความรู้หลังทดลองที่ต่ําากว่า เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มได้รับความรู้ผ่านแผ่นพับ แผ่นพับอาจมีประสิทธิภาพในการเพิ่มความรู้เกี่ยวกับโฟเลตและภาวะหลอดประสาทไม่ปิด และการศึกษาในอนาคตควรเน้นการพัฒนาโปรแกรมที่ส่งผลกับการสร้างเสริมระยะยาวในความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมengMahidol UniversityFolate and neural tube defectsfemale university studentseducation interventionsocial mediaimproving knowledgeโฟเลตและภาวะหลอดประสาทไม่ปิดนักศึกษาหญิงโปรแกรมการศึกษาสื่อสังคมเพิ่มความรู้Comparison of Social-media-based and Paper-based Educational Tools Aimed at Improving Knowledge of Folate and Neural Tube Defects in Female University Studentsการเปรียบเทียบของเครื่องมือทางการศึกษาแบบสื่อสังคมและแบบแผ่นพับที่มุ่งเน้น การเพิ่มความรู้เกี่ยวกับโฟเลตและภาวะหลอดประสาทไม่ปิดในนักศึกษาหญิงOriginal ArticleDepartment of Nutrition Faculty of Public Health Mahidol UniversityDepartment of Epidemiology Faculty of Public Health Mahidol University