Bipna ShresthaSanthat SermsriNate HongkrailertMahidol University. ASEAN Institute for Health Development2015-10-222017-03-312015-10-222017-03-312015-10-222012Journal of Public Health and Development. Vol.10, No.3 (2012), 3-151905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1574between self-efficacy, family support and physical-social functioning activity among elderly living in a community under QOL program in Kanchanaburi province, using cross-sectional design. A total of 289 self-administered questionnaires for Thai elderly were used to collect data using stratified sampling. About 48% of the studied elderly had good physical-social functioning activity. However, householdactivity and leisure time activity predominated over regular exercise. Over half (60%) of the respondents had either high or moderate self-efficacy while 51.9% had high family support. Self-efficacy and family support were positively correlated with the physical-social functioning activity of the elderly. Multiple lin- ear regression analysis predicted self-efficacy and family support as significant predictors of physical-social functioning activity (p<0.001, R-Sq (adj) =43.0%), when adjusted with other factors. This finding suggests higher level of the self-efficacy and family support, higher level of the physicalsocial functioning activity of the Thai elderly involving in a QOL program. The authors recommended that several interventions to increase self-efficacy and family support should be strengthened and continued for health promoting behavior targeting the elderly people.วัตถุประสงค์ของการศกษานี้เพื่ออธิบายกิจกรรมทางสังคมและทางกายภาพของครัวเรือนของผู้สูงอายุภายใต้ โครงการคุณภาพชีวิตจังหวัดกาญจนบุรี และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตน การ สนับสนุนจากครอบครัว กับการมีกิจกรรมทางสังคมและทางกายภาพของครัวเรือนของผู้สูงอายุโดยใช้วิธีการวิจัยแบบสำรวจเชิงตัดขวางและใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นเป็นเครื่องมือ ในการเก็บข้อมูล จากผู้สูงอายุภายใต้โครงการ คุณภาพชีวิต สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิโดยใช้ขนาดตัวอย่าง 289 คน ผลการวิจัยพบว่า ร้อยละ 48 ของผู้สูงอายุภายใต้โครงการคุณภาพชีวิตจังหวัดกาญจนบุรี มีกิจกรรมทางสังคม และกิจกรรมทางกายภาพครัวเรือนที่ดี เมื่อพิจารณาเฉพาะการมีกิจกรรมทางกายภาพครัวเรือนองค์ประกอบที่เด่น เป็นกิจกรรมทางกายภาพครัวเรือนมากกว่ากิจกรรมด้านการออกกำลังกาย มากกว่าร้อยละ 60.9 การรับรู้ตาม ความสามารถของตนของผู้สูงอายุ อยู่ในระดับปานกลางถึงระดับสูง ในขณะที่ร้อยละ 51.9 ของผู้สูงอายุมีแรง สนับสนุนจากครอบครัวในระดับสูง การวิเคราะห์การทดทอยพหุคูณพบว่า การรับรู้ความสามารถของตน และ แรงสนับสนุนจากครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญที่ <0.001 กับการมีกิจกรรมทางสังคมและ กิจกรรมทางกายภาพครัวเรือน การรับรู้ความสามารถของตน และแรงสนับสนุน จากครอบครัวเพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลให้การมีกิจกรรมทางสังคม และกิจกรรมทางกายภาพของครัวเรือนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นด้วย กิจกรรมการส่งเสริมและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุควรมีมาตรการสร้างความมั่นใจในความสามารถของตนและส่งเสรมิ ให้มีแรงสนับสนุนจากครอบครัวร่วมด้วยengMahidol UniversitySelf-efficacyFamily supportPhysical-social functioning activityElderlyOpen Access articleJournal of Public Health and DevelopmentวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาSelf-efficacy, family support and physical-social functioning activity among Thai elderly under a community QOL program, Kanchanaburi province, Thailandการรับรู้ความสามารถของตน การสนับสนุน จากครอบครัว และการมีกิจกรรมทางสังคม และกายภาพของผู้สูงอายุภายใต้โครงการคุณภาพชีวิต จังหวัดกาญจนบุรี ประเทศไทยArticleASEAN Institute for Health Development Mahidol University