อุมาพร พรมสะอาดอุดม ลีลาทวีวุฒิสมชาติ โตรักษาสุคนธา คงศีลSomchart TorugsaSukhontha Kongsinมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข2015-06-122017-06-302015-06-122017-06-302558-06-122555วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 42, ฉบับที่ 2 (2555), 92-1020125-1678https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2467การวิจัยเชิงอรรถาธิบายด้วยการสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายการเสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงาน ที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาลวิชาชีพ จำนวน 250คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่าการเสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงาน และสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ในระดับสูงทั้งคู่ในภาพรวม การเสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ (r = 0.491, p < 0.01) ด้านที่มากที่สุด คือ การได้รับการรับรองความสามารถในการปฏิบัติงาน (r = 0.511, p < 0.01) รองลงไปคือ การได้รับทรัพยากร การได้รับข้อมูลข่าวสาร การได้เพิ่มพูนทักษะและความสามารถ และการได้รับการช่วยเหลือสนันสนุน ตามลำดับ ด้านที่น้อยที่สุดคือ การได้รับความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (r = 0.344, p < 0.01) เสนอแนะให้ผู้บริหารนำผลการวิจัยนี้ไปเป็นข้อมูลประกอบการจัดทำและพัฒนานโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนการเสริมสร้างสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพให้สูงขึ้นด้วยกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะช่วยให้พยาบาลวิชาชีพสามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน/องค์การ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง และเกิดประโยชน์ต่อองค์การ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว This cross-sectional explanatory research aimed to explain the infl uence of work empowerment over the job competency of registered nurses in a private hospital in Bangkok Metropolitan Area. The sample group was 250 registered nurses at an operational level and who had working experiences of not less than six months. The research tool was a questionnaire. The statistics used for the analysis were percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s Correlation Coeffi cient. The result found that both of the work empowerment and competency of the studied population were at a high level. Overall, it was found that the work empowerment had a moderately positive relationship with the competency of the nurses (r = 0.491, p < 0.01). The highest relationship was with the accreditation of work (r = 0.511, p < 0.01) and with the following in descending relationship: receiving of resources, receiving of information, opportunity to increase skills and capabilities, and receiving support respectively. The lowest relationship was with career growth and advancement (r = 0.344, p < 0.01). The researcher recommended that the administrator to consider in applying this research results in the formulation and the development of hospital policy to promote and support for competency building of registered nurses by using the work empowerment processes. These policies would help registered nurses improve themselves, their works, and their organization continuously and efficiently and would be benefi cial to the organization, both in the short and long term.thaมหาวิทยาลัยมหิดล.การเสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงานสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพการพยาบาลการพัฒนาตนเองและองค์การโรงพยาบาลเอกชนWork EmpowermentCompetency of Registered NursesNursingSelf-Development and Organization DevelopmentPrivate HospitalOpen Access articleวารสารสาธารณสุขศาสตร์Journal of Public Healthการเสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงานที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครAn empowerment of work infl uencing the job competency of registered nurses, a private hospital, Bangkok MetropolisArticleมหาวิทยาลัยมหิดล.