ขวัญชนก ณ ระนองฐนันดร๋ศักดิ์ บวรนันทกุลKwanchanok Na RanongTanansak Borwornnuntakulมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์2020-04-202020-04-202563-04-202562วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 6, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 328-347https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54344การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานของตำรวจที่ปฏิบัติงานในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้รวมทั้งปัจจัยส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานดังกล่าว โดยกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ตำรวจชั้นสัญญาบัตรและชั้นประทวน จำนวน 385 คน ประกอบด้วยตำรวจภูธรจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ การทำแบบสอบถาม (Questionnaires) และสถิติที่ใช้ในที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, การหาค่าที (t-test แบบ independent sample) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (F-test แบบone-way ANOVA) โดยผลการวิจัยสรุปผลได้ว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 80.8 และเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 19.2 มีความคิดเห็นว่าตนมีความเสี่ยงภัยในการปฏิบัติหน้าที่ คิดเป็นร้อยละ 66.8 มีค่าตอบแทนพิเศษ คิดเป็นร้อยละ 79.5 และส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์อันดีภายในหน่วยงาน คิดเป็นร้อยละ 88.6 โดยเจ้าหน้าที่ตำรวจส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตในการทำงานอยู่ในระดับระดับปานกลาง (=3.490, S.D. = 0.610) และเมื่อพิจารณาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของการทำงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ พบว่าปัจจัยด้านอายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ชั้นยศ สถานภาพสมรส และระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ต่างกัน มีคุณภาพชีวิตแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในส่วนของปัจจัยด้านเพศ ความเสี่ยงภัย ค่าตอบแทนพิเศษและความสัมพันธ์ภายในหน่วยงานไม่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05This research aimed to study quality of work life of the police in the insurgency southern border provinces in Thailand, as well as, to study the factors related to such quality of work life. The samples were 385 police officers from both commissioned officers and non – commissioned officers serving duties in Yalaa, Pattani, and Narathiwat. Questionnaires, and statistics analyses which are average, standard deviation, independent sample t – test, and one – way ANOVA F – test were governed as tools of the research. The findings revealed that the police serving duties in the insurgency southern border provinces in Thailand were male 80.8 percent, and female 19.2 percent. There was 66.8 percent of the police having perception of risk encountering while performing duties. There was 79.5 percent of the police receiving extra payment. There was 88.6 percent of the police having good relationships with their colleagues. Most of the police had quality of work life at the meddle level (=3.490, S.D. = 0.610). As for the factors affecting the quality of work life, differences of ages, education background, monthly income, levels, marital status, and duration of duties performance resulted in levels of the quality of life which were statistically significantly different at 0.05. Still, there were factors being not statistically significantly different at 0.05 which were gender, risk, extra payment, and relationships in offices.thaมหาวิทยาลัยมหิดลคุณภาพชีวิตในการทำงานเจ้าหน้าที่ตำรวจสามจังหวัดชายแดนภาคใต้policethe insurgency southern border provinces in thailandquality of work lifeวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการIntegrated Social Science Journalคุณภาพชีวิตในการทำงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ปฏิบัติงานในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้Quality of Work life of Police in the Insurgency Southern Border Provinces of thailandResearch Articleคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล