รุ่งรัตน์ เกิดสวัสดิ์มัลลิกา สุชะไตรประวีณา ปรึกไธสงมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์2022-09-142022-09-142565-09-142564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79529ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 110Incontinence associated dermatitis (IAD) คืออาการผิวหนัง อักเสบเป็นการตอบสนองของผิวต่อการสัมผัสกับปัสสาวะและอุจจาระเป็น เวลานานทำให้ผิวหนังเกิดแผล สร้างความเจ็บปวดต่อผู้ป่วย และต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการดูแลแผลเพิ่มขึ้น หอผู้ป่วยพิเศษ 73 ให้การดูแลผู้ป่วยศัลยกรรมและอายุรกรรม ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษามีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ IAD 120 ราย/ปี มี อัตราการเกิดภาวะ IAD เท่ากับ 0.7 ต่อ 1,000 วันนอน ซึ่งตามเกณฑ์ของ คณะกรรมการป้องกันแผลกดทับ น้อยกว่า 0.5 ต่อ 1,000 วันนอน จากการ ประเมิน เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ในการดูแลและป้องกันภาวะ IAD การแบ่ง ระดับความรุนแรง การเลือกใช้เวชภัณฑ์ไม่มีแนวทางในการดูแลอย่างเป็น ระบบชัดเจน ทางผู้จัดโครงการจึงมีการจัดระบบการดูแลภาวะ IAD (work flow), จัดทำชุดเวชภัณฑ์, การทำสื่อการสอน VDO, แบบทดสอบประเมิน ความรู้เจ้าหน้าที่ โดยผ่านเกณฑ์ 81.48 % จากเดิม 18.52 % สามารถลด จำนวนผู้ป่วยเกิดภาวะ IAD จากเดิม 0.7 เป็น 0.21 ต่อ 1,000 วันนอน ลด ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ลดความทุกข์ทรมาน เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีกับผู้ป่วยthaมหาวิทยาลัยมหิดลIncontinence associated dermatitisผิวหนังอักเสบIADMahidol Quality Fairโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันการเกิดการอักเสบของผิวหนังจากการสัมผัสอุจจาระและปัสสาวะ Incontinence associated dermatitis (IAD)Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล