ฐิติมา วัฒนเสรีเวชวรรณิษา ศรีชะนันท์กุลธิดา พฤกษะวันมนสิชา แซ่เซียวWannisa SrichananKulthida PhruksawanMonsicha Saesiaoมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี2022-10-262022-10-262565-10-262564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79969ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 168โรคปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ (VAP) เป็นโรค ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียพบใน 48 ชั่วโมงภายหลังการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้ เครื่องช่วยหายใจ การเกิด VAP เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเด็กรักษาตัวใน โรงพยาบาลนานขึ้น ส่งผลให้ความเจ็บป่วยรุนแรงและอาจเป็นสาเหตุให้ เสียชีวิตได้ เมื่อสมาคมโรคหัวใจแห่งอเมริกาแนะนำการเลือกใช้ท่อช่วยหายใจ แบบมีกระเปาะ (endotracheal tubes with cuff) เพื่อลดความเสี่ยงของ การสูดสำลักอาหารลงปอด สอดคล้องกับแนวปฏิบัติ VAP Bundle “WHAPO” ของคณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เรื่อง Aspiration precautions ทาง หอผู้ป่วยจึงได้คิดจัดทำโครงการ “Impact of Quality Improvement Intervention to prevent VAP in Critically Ill Children” ซึ่งเป็นโครงการ ต่อเนื่องจากโครงการ “Oral care: prevent VAP” และการใช้แบบประเมิน “Assessment pediatric critically ills daily before extubation” โดย โครงการระยะนี้เน้นการเลือกใช้ท่อช่วยหายใจชนิดมีกระเปาะและติดตาม ตรวจวัดความดันในกระเปาะ ภายหลังการปฏิบัติพบว่าอัตราการเกิด VAP ลดลง ผลลัพธ์ที่ได้ส่งผลให้ผู้ป่วยเด็กปลอดภัย และเป็นการพัฒนาคุณภาพ ทางการพยาบาลอย่างต่อเนื่องthaมหาวิทยาลัยมหิดลปอดอักเสบเครื่องช่วยหายใจผู้ป่วยเด็กMahidol Quality FairImpact of Quality Improvement Intervention to prevent VAP in Critically Ill ChildrenProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล