ชุติมา ปฐมกำเนิดวชรสร เพ่งพิศเนตรฟ้า รักมณีจุฑามาศ ประเสริฐศรีน้ำฝน เอกสนธิ์ประไพพร เตียเจริญฐิติพร แก้วรุณคำสันติ มณีวัชระรังษีChutima PathomkumnirdWacharasorn PangpitNatefa RukmaneeJutamas PrasertsriNamfon EkkasonthPrapaiporn TiacharoenTitiporn KaewrunkamSanti Maneewatchararangsriมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. ภาควิชาสุขวิทยาเขตร้อนมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. ภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหารมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. ภาควิชาชีวโมเลกุลและพันธุศาสตร์โรคเขตร้อน2021-09-242021-09-242564-09-242563วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 50, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2563), 89-982697-584X (Print)2697-5866 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63657งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ปี พ.ศ. 2560 จากข้อมูลทุติยภูมิแบบประเมินค่าดัชนีความผิดปกติ AI จําาแนกปัจจัยเสี่ยง และลักษณะท่าทางการทําางานที่มีความเสี่ยงการยศาสตร์ จําานวน 517 คน พบบุคลากรกลุ่มเสี่ยงทางการยศาสตร์มีความชุกร้อยละ 10.8 ในระดับมีความเสี่ยงสูงและมีความเสี่ยงสูงต้องแก้ไขทันที และมีค่าเฉลี่ยดัชนีความผิดปกติ AI ที่ 3.3±0.2 และ 4.8±0.1 ตามลําาดับ โดยพบบุคลากรกลุ่มเสี่ยงทางการยศาสตร์ในกลุ่มวิชาชีพเฉพาะ ร้อยละ 19.0 กลุ่มสายวิชาการและบริหาร ร้อยละ 12.0 กลุ่มสนับสนุนวิชาการ ร้อยละ 4.5 กลุ่มสนับสนุนทั่วไประดับปฏิบัติการและระดับช่วยปฏิบัติการ ร้อยละ 6.2 และ 6.4 ตามลําาดับ (p<0.001) โดยปัจจัยเพศ (p=0.046) และค่าดัชนีมวลกาย (p<0.001) มีความสัมพันธ์กับบุคลากรในกลุ่มเสี่ยงทางการยศาสตร์ บุคลากรกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ มีอิริยาบถนั่ง ยืน เคลื่อนไหวด้วยท่าซ้ําา ๆ และใช้กําาลังเกินตัว กลุ่มนักวิชาการและอาจารย์ ที่มีอิริยาบถนั่งทําางานอยู่กับที่ ใช้สายตาและความคิด และกลุ่มสายสนับสนุนช่วยปฏิบัติการ มีอิริยาบถเคลื่อนไหวและใช้กําาลังด้วยท่าทางไม่เหมาะสม เสี่ยงต่อการบาดเจ็บและเกิดอุบัติเหThe study aimed to evaluate ergonomic risk assessment among staff at the Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University, in 2017 using secondary data obtained from the Abnormal Index (AI) questionnaire, and to identify ergonomic risk factors and risky working posture. Of 517 participants, 10.8% of ergonomic risk personnel were classified as high and very high-risk with average AI scores of 3.3±0.2 and 4.8±0.1, respectively. Ergonomic risk personnel were classified as: 19.0% of the specific professionals, 12.0% of the academics and executives, 6.2% of the practitioner officers, and 6.4% of the opera-tional technicians (p<0.001). Sex (p=0.046) and body mass index (p<0.001) were associated with ergonomic risk. At risk personnel were found in specific professions with prolonged sitting and staring, repetitive movement and forceful exertion characteristics. Academics and executives were exposed to consistent ergonomic risk factors due to long durations of computer screen time, reading and thought. Operational technicians were exposed to repetitive movement and constant movement, heavy lifting activity and awkward working posture, and are at risk of injuries and accidentsthaมหาวิทยาลัยมหิดลการยศาสตร์การประเมินความเสี่ยงดัชนีความผิดปกติ AIความล้าทางร่างกายและจิตใจพนักงานมหาวิทยาลัยErgonomicsRisk assessmentAbnormal Index (AI)Physical and mental fatigueUniversity staffการประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ของบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ด้วยค่าดัชนีความผิดปกติ AIErgonomic Risk Assessment among Staff of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University using Abnormal Index (AI)Original Articleสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลภาควิชาสุขวิทยาเขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลสำนักงานคณบดี คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลภาควิชาชีวโมเลกุลและพันธุศาสตร์โรคเขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล