กนกรัตน์ นพโสภณกีรติ สอนคุ้มจุฬารักษ์ เครือจันทร์สุชาดา จันทร์วันรุ่งพร เหมือนแตงมหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองกิจการนักศึกษา2021-05-312021-05-312564-05-312561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62375ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 74การพัฒนานักศึกษาด้วยกระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง คือ การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาชั้นปีที่ 1 รหัส 60 ด้วยการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม การทำงานศิลปะ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของนักศึกษา โดยเน้น การพัฒนานักศึกษา 3 ด้านประกอบด้วยการพัฒนาตนเอง ทั้งในทางด้านมุมมอง วิธีคิดให้ถูกต้องตามความเป็นจริง เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องและสอดคล้องกับสถานการณ์ของสังคมและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว การพัฒนาทางจิตใจ ให้เข้มแข็ง อดทน กล้าหาญ มีสติ มีสมาธิ มีความรักความเมตตา และมีความสุข (ร่าเริง เบิกบาน แจ่มใส สนุกสนาน) การพัฒนาด้านความสัมพันธ์ ท่าที การกระทำหรือพฤติกรรม ดำเนินชีวิตที่เป็นประโยชน์ต่อคนรอบข้าง สังคมส่วนรวม การพัฒนาด้านการเรียน การทำงาน และการใช้ชีวิตร่วมกันการไม่เอารัดเอาเปรียบ หรือแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเอง แต่ให้พร้อมที่จะแบ่งปันช่วยเหลือเกื้อกูลเพื่อน โดยกระบวนการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษามหาวิทยาลัย (การเรียน) เสริมเสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเองของนักศึกษา (ตัวเอง) และส่งเสริมความสัมพันธ์ของนักศึกษากับคนรอบข้าง (ความสัมพันธ์กับเพื่อน)thaมหาวิทยาลัยมหิดลกระบวนการการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาการพัฒนาตนเองการพัฒนาด้านความสัมพันธ์การพัฒนาศักยภาพนักศึกษามหาวิทยาลัยMahidol Quality Fairการพัฒนานักศึกษาด้วยกระบวนการการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (Transformative Leaning) ชั้นปีที่ 1 รหัส 60Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล