Thyon ChentanezOpas SinphurmsukskulThanomwong KritpetPimjai SiriwongpairatChaturaporn Na NakornRungchai ChaunchaiyakulSirada Boontong2024-09-042024-09-04199519952024Thesis (M.Sc. (Physiology of Exercise))--Mahidol University, 1995https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/100821Physiology of Exercise (Mahidol University 1995)The present study was undertaken in professional Thai boxers (TB) to investigate their structural and functional changes of the knee as a consequence to intensive training and competition in comparison to those of age matched group of non-athlete (NA). The mean age of subjects was 16 years old. TB and NA were tested for knee extension and knee flexion on a Cybex 6000 isokinetic dynamometer at the speeds of movement of 60, 180, 300 deg/sec and were evaluated the structural status of the knees by the Orthopedist. Results indicate that: 1. No significant difference were demonstrated in the torque/body weight (PT/BW) ratio between right and left knee during concentric activity at slow speed. 2. No significant difference were found in the quadriceps and hamstring PT/BW ratio between TB and NA during concentric activity at slow speed. 3. The effect of endurance training on thigh muscles may be resulted in smaller TW (Total work) and AP (Average power) at functional speeds in TB. 4. TB showed more endurance than did in NA. 5. There is no difference in structure of the knee between TB and NA. 6. There was no correlation between knee functional and structural parameters in terms of patellar position.ได้ทำการศึกษาโครงสร้างและสมรรถภาพของข้อเข่า ในนักมวยไทย มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อันเนื่องมาจากการ ฝึกซ้อมที่หนักและจากการปะทะของคู่ต่อสู้ โดยเปรียบเทียบ กับชาวไทยปกติที่ไม่ใช่นักมวยไทยในช่วงอายุเดียวกัน ค่าเฉลี่ยอายุ 16 ปี นักมวยไทยและกลุ่มเปรียบเทียบได้รับ การทดสอบด้วยเครื่อง Isokinetic dynamometer (Cybex 6000) ทำการศึกษาโครงสร้างของเข่าจากการตรวจ ร่างกายและผลทางรังสีวิทยา พบว่า 1. ไม่มีความแตกต่าง ระหว่างแรงกล้ามเนื้อ (PT%BW) ของขาซ้ายและขาขวา 2. ไม่มีความแตกต่างของแรงกล้ามเนื้อ Quadriceps และ Hamstring ระหว่างนักมวยไทยและกลุ่มเปรียบเทียบ 3. การฝึกความทนทานมีผลทำให้ TW (Total work) AP (Average power) ในกลุ่มนักมวยไทยน้อยกว่ากลุ่มเปรียบ เทียบที่ระดับความเร็วของการทดสอบสูง 4. ในกลุ่มนักมวย ไทยมีความทนทานของกล้ามเนื้อสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ 5. ไม่มีความแตกต่างในโครงสร้างของข้อเข่าระหว่างกลุ่ม นักมวยไทยและกลุ่มเปรียบเทียบ 6. ไม่มีความสัมพันธ์ ระหว่างสมรรถภาพและโครงสร้างของเข่าในแง่ตำแหน่ง ของกระดูกสะบ้าvi, 80 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าAthletic injuriesBoxers (Sports) -- ThailandKnee jointThe study of structure and function of knee in Thai boxersการศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของข้อเข่าในนักมวยไทยMaster ThesisMahidol University