อรอุมา สิงหะเอกรินทร์ กลิ่นคำหอมทวีศักดิ์ เขตเจริญเยาวลักษณ์ พนาเวชกิจกุลสุเมธ อำภาวงษ์กาญจนา เข่งคุ้มมหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานการสัตวแพทย์สัตว์ทดลองมหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานบริการวิชาการ2014-08-142018-08-192014-08-142018-08-192557-08-142555https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/22831การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 50 ระหว่างวันที่ 31 มกราคม-2 กุมภาพันธ์ 2555. หน้า 310-319กระต่ายสายพันธุ์ NZW เพศผู้ อายุ 37 วัน น้้ำหนัก 494 กรัมพบอาการผิดปกติทางระบบประสาทคือ หัวส่าย ตากระตุกทั้งสองข้าง รวมทั้งเดินเซเล็กน้อย ผลการผ่าซากพบถุงน้้ำสีขาวใสบริเวณพื้นสมองตำแหน่งอยู่ตรงกลางของ optic chiasma พอดี พบก้อนมีสีขาวเทาขนาดประมาณ 2.5x3 มม. เนื้อค่อนข้างแน่น ผิวหยักอยู่ภายในโพรงของ 3 rd ventricle และพบ hydrocephalus ขนาดเล็กร่วมด้วย ผลการตรวจทางโลหิตวิทยา เคมีคลินิกและเซลล์วิทยาอยู่ใน เกณฑ์ปกติ ผลการตรวจทางจุลพยาธิวิทยาพบว่ามีการกระจายตัวของเนื้องอกภายในช่องสมองและเนื้อสมองส่วน sub-ependymal areas แบบ papillary projection โดยมีลักษณะการเรียงทั้งแบบ rosette formation และ pseudorosette formation ผลการย้อมด้วยเทคนิค Immunohistochemistry พบว่าไซโพลาสซึมของเซลล์เนื้องอกมี immunoreactive ต่อ vimentin ในลักษณะ filamentous structure แต่ไม่พบ immunoreactive ต่อ cytokeratin AE1/AE3 (pan cytokeratin) ผลการทดสอบบ่งชี้ว่าเป็นเนื้องอกชนิด Papillary ependymoma ไม่พบการแพร่กระจาย ของเนื้องอกไปยังอวัยวะอื่น ถือเป็นเนื้องอกที่พบยากและเป็นรายงานครั้งแรกในประเทศไทยที่พบเนื้องอกชนิดนี้ใน กระต่ายthaมหาวิทยาลัยมหิดลPapillary ependymomaHead shakingTumorRabbitผลงานการขอเลื่อนตำแหน่งผลงานบุคลากรสายสนับสนุนเนื้องอกชนิด Papillary ependymoma ในกระต่ายPapillary ependymoma in a rabbitProceeding Article