Songsri SoranastapornSettachai ChaisanitNatthapong ChanyooYuwadee TirataradolWarangkana Wongkunha2024-01-112024-01-11201820242018Thesis (M.A. (Applied Linguistics))--Mahidol University, 2018https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92314Applied Linguistics (Mahidol University 2018)The purposes of this study were: - 1) to develop and find the efficiency of an ecourseware application for vocabulary learning in first grade students, 2) to compare the learning achievements of students in the control group (learning through the paper-based) and the experimental group (learning through the e-courseware application), and 3) to explore the satisfaction of the students in the experimental group after learning through the e-courseware. Population was eighty first grade students at one primary school in Kanchanaburi. Sixty subjects met the inclusion criteria and were randomly selected into two groups: treatment and experimental. Subjects of both groups took POST-TEST after learning. Questionnaires were used as research tools to find the students' satisfaction in learning via the e-courseware application. The Cronbach's alpha reliability coefficient of the questionnaire was 0.79. Data were analyzed by mean, standard deviation, and t tests. The results of this research were as follows. Firstly, the efficiency value of the e-courseware (E1/E2 = 94.95/90.03) was higher than the criteria (80/80). Secondly, the mean score of the POST-TEST of the experimental group (M = 90.03, SD = 6.73) was significantly and statistically higher than that of the control group (M = 48.50, SD = 15.49) (t = 13.47, df = 39.57, p < .00). Lastly, the experimental group rated their satisfaction in the ecourseware- based learning at the highest level (M = 2.92, SD = 0.14).งานวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์สำหรับการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษหลังเรียนของนักเรียนที่ใช้สื่อการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม (แบบกระดาษ) กับนักเรียนที่ใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และ 3) สำรวจความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ประชากรคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 60 คนซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบจับคู่แล้วทำการสุ่มอย่างง่าย แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็นสองกลุ่มคือ กลุ่มทดลอง (30 คน) และกลุ่มควบคุม (30 คน) กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มทำแบบทดสอบหลังเรียน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำรวจความพึงพอใจของกลุ่มทดลอง และมีค่าความเชื่อมั่น Cronbach's alpha เท่ากับ 0.79 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาขึ้นมีค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) ค่าเท่ากับ 94.95/90.03 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (80/80) 2) ค่าเฉลี่ยคะแนนของแบบทดสอบหลังเรียน ของนักเรียนในกลุ่มทดลอง (M = 90.03, SD = 6.73) ซึ่งสูงกว่าของนักเรียนในกลุ่มควบคุม (M = 48.50, SD = 15.49) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (t = 13.47, df = 39.57, p < .00) 3) นักเรียนในกลุ่มทดลองเห็นมีความพึงพอใจในการเรียนโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดับดีมาก (M = 2.92, SD = 0.14)xii, 145 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าLanguage and languages -- Study and teaching -- Technological innovationsLanguage and languages -- Computer-assisted instructionWeb-based instructionAn E-courseware application for vocabulary learning in first grade studentsการใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1Master ThesisMahidol University