Voranunt SuphiphatChaivat ToskulkaoNouwaratn SukhapanthAreeporn Chongchitmate2024-09-042024-09-04199519952024Thesis (M.Sc. (Toxicology))--Mahidol University, 1995https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/100875Toxicology (Mahidol University 1995)Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit or "Kra-Tinn" is regularly consumed by the Thais. The presence of toxic amino acid, mimosine makes people questionable about its safety and health hazard in human There is a dearth of information regarding the toxic effect of mimosine on the eyes. Therefore, the present study was designed to gain a better understanding of the results of consumption of Leucaena leucocephala and / or its minosine content on human and experimental animals by 1. determining the amount of L. leucocephala and its mimosine content that actually consumed by the Thais in fresh or dried leaves (tender shoots), young pods and seeds. 2. determining the dose of mimosine which resulted in the adnormality of the lens / cornea in the eyes of the rats. 3. determining the levels of copper and zinc in plasma and ocular tissues of rats exposed to L. Ieucocephala. The results showed that human consumption of tender shoots, young pods and mature seeds of L. leucocephala were 18.89, 23.36 and 13.06 g/meaL Mimosine content was found highest in tender shoots and oven dried was more concentrate than fresh one. Protein content in tender shoot was 44.75 g/100 g dried weight Mimosine 250, 500 mg/kg BW(one single dose) via intragastric to Wistar ral, did not show any ocular changes. Rats lost their body weight upon feeding with L leucocephala diet which was a 20% protein diet (5% protein from "Kra-Tinn" and 15% from casein). The mean mimosine conswnption during 18 d of experiments in male and female were 562.77 and 624.72 mg/kg BW/day. Male was more susceptible than female rat. The abnormal features developed in the rats upon feeding the diet were: loss of hair, red tear, swollen eyeball, cataract and leg weakness. Hemoglobin, hematocrit and lens weight were decreased when compare to control. Organ weight changes developed in rat fed leucaena diet. Copper and zinc concentration in lens of rat were higher than control, whereas plasma zinc was decreased. The time taking for ocular changes to develop was 18 days. Histological of comea showed necrosis of surface corneal epithelial lining with acute inflammation. Neovascularization with extravasation of red blood cells of cornea was evident. Lens exhibited mild degeneration with loss of lining lens epithelium. Toxic injury was seen in renal proximal tubules. Chronic consumption of "Kra Tinn" may cause health hazard rather than one single dose.กระถินเป็นพืชที่คนไทยนิยมบริโภคเป็นประจำ การพบไมโมซีนซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่เป็นพิษในกระถิน ทำให้ผู้คนสงสัยถึงความปลอดภัยและพิษภัยที่จะเกิดแก่คน ซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นพิษของไมโมซีนต่อคน โดยเฉพาะต่อตานั้น มีน้อยมาก ดังนั้นการศึกษานี้จึงได้ก่อกำเนิดขึ้นจะได้ เข้าใจผลที่เกิดจากบริโภคกระดินให้ดีขึ้นโดยมีจุดประสงค์ 1. เพื่อหาปริมาณกระพินและไมโมซีนที่คนไทยบริโภค ในรูปใบยอด, ฝักกระถิน และเมล็ดกระถิน 2. เพื่อหาขนาดของไมโมซีนที่จะทำให้เกิดความผิด ปกติที่ตาของหนู 3. เพื่อหาระดับของทองแพงและสังกะสี ในพลาสมา และเนื้อเยื่อตาของหนูที่ได้รับกระถิน ผลการทดลองพบว่าคนกินใบยอดกระถิน, ฝักกระถิน และเมล็ดกระถิน เท่ากับ 18.89, 23.36, และ 13.06 กรัมต่อมื้อ ใบยอดมีไมโมซีนมากที่สุด และวิธีการอบแห้งพบ ไมโมซีนมากกว่าสด ใบยอดมีโปรตีนสูงถึง 44.75 กรัม/100 กรัม น้ำหนักแห้ง ไม่พบการเปลี่ยนแปลงที่ตา ในหนูที่ได้รับไมโมซีนเข้าสู่กระเพาะ 1 ครั้ง ในปริมาณ 250, 500 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัว ส่วนหนูที่เลี้ยง ด้วยอาหารผสมกระถินซึ่งมีโปรตีน 20% (โดย 5% ของโปรตีน มาจากกระถิน และอีก 15% มาจากเคซิอิน) จะมีน้ำหนัก ตัวลดลง หนูตัวผู้กินหรือได้รับไมโมซินเฉลี่ย 562.77 และ ตัวเมียได้ 624.72 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน ตัวผู้เกิดพิษมากกว่าตัวเมีย อาการผิดปกติที่พบได้แก่ : ขนร่วง, น้ำตาแพง, ตาต้อ และขาหมดแรง ระดับฮีโมโกลบิน และฮีมาโตคริท และน้ำหนักของเลนส์ตาน้อยกว่ากลุ่มปกติ, หนูที่เลี้ยงด้วยใบยอดกระถินพบการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนัก อวัยวะ ทองแดงและสังกะสีในเลนส์ตาของหนูกลุ่มนี้สูงกว่า หนูปกติ ขณะที่ระดับสังกะสีในพลาสมาลดต่ำกว่า ระยะเวลา การเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ตาใช้เวลาประมาณ 18 วัน พยาะิสภาพของกระจกตาพบว่ามีการอักเสบและมีเซลล์ตาย บริเวณเยื่อบุตา มีเส้นเลือดเกิดใหม่และเม็ดโลหิตแดงอยู่ นอกเส้นเลือดกระจายอยู่ เยื่อบุเลนส์ตาสูญหายไป ไตพบความผิดปกติที่ส่วนพร็อกซิมอลทิวบูล การบริโภคเป็นเวลานาน อาจเป็นผลร้อยต่อสุขภาพมากกว่าการบริโภคเพียงครั้งเดียวxvii, 146 leaves : ill. (some col.)application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าLeucaena leucocephalaMimosine -- adverse effectsEffect of mimosine on copper and zinc content of ocular tissuesผลของไมโมซีนต่อระดับทองแดงและสังกะสีในเนื้อเยื่อตาMaster ThesisMahidol University