Boosaba SanguanprasitPrasit LeerapanPimsurang TaechaboonsermsakRewadee Chongsuwatบุษบา สงวนประสิทธิ์ประสิทธิ์ ลีระพันธ์พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักดิ์เรวดี จงสุวัฒน์Mahidol University. Faculty of Public Health2021-05-172021-05-172021-05-172016Journal of Public Health and Development. Vol. 14, No.2 (May-Aug 2016), 49-601905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62189The purpose of this study was to assess the effects of using village health volunteers as peer support for glycemic control among diabetes type 2 patients. This is a quasi-experimental study, two-group, pre-posttest, carried out in the northeast and the central parts of Thailand A total of 58 and 30 diabetes type 2 patients from comparable communities were recruited into the intervention and comparison groups, respectively. The inclusion criteria included aged 35 – 75 years, FBS lied between 30 – 300 mg/dl, and systolic blood pressure did not exceed 200 mmHg. Trans-theoretical Model, participatory learning and inclusive planning were used to guide the intervention activities to raise their awareness, build self-efficacy, and maintain their self-care management behaviors. Twenty VHVs who were responsible for the patients in the experimental group were trained in planning and providing supports to the patients. After the training, they formed a network of three to support and encourage the patients to plan and manage their illness. The intervention lasted six months from July to December 2011. Patients in the experimental group had significantly improved their self-care management and reduced HbA1C from 8.2 to 7.6 (p<0.01), while those of the comparison group were not significantly changed. The project has demonstrated the effectiveness of peer supports by village health volunteers in supporting diabetes patients to control their glycemic level, and this approach should be implemented in a wider scale. More research is needed to determine whether the effects of peer support can be sustained beyond six months.การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของการสนับสนุนผู้ป่วยเบาหวานประเภท 2 ให้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดโดยอาสาสมัครสาธารณสุข เป็นการศึกษาแบบกึ่งทดลอง สองกลุ่ม ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลองเป็นผู้ป่วยเบาหวานประเภท 2 จำานวน 58 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 30 คน จากชุมชนที่มีลักษณะประชากรและเศรษฐกิจที่คล้ายคลึงกัน อายุระหว่าง 35 – 75 ปี ระดับน้ำตาลในเลือดระหว่าง 30 – 300 มก/ดล และความดันโลหิต ไม่เกิน 200 มม ปรอท ในกลุ่มทดทอง อาสาสมัครสาธารณสุขที่รับผิดชอบผู้ป่วยในพื้นที่จำนวน 20 คน ที่ผ่าน การอบรมวิธีการวางแผนอย่างมีส่วนร่วม การเสริมพลังผู้ป่วย และการสนับสนุนผู้ป่วย ดำเนินการปรับพฤติกรรมผู้ป่วยในกลุ่มทดลอง โดยมีกรอบแนวคิดในการจัดกิจกรรม ในการสร้างความตระหนัก ทักษะและความมั่นใจในการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่อง คือ Trans-theoretical model การเรียนรู้และการวางแผนอย่างมีส่วนร่วม การดำเนินการใช้เวลา 6 เดือน ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2554 หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีขึ้น และมีระดับHbA1C ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จาก 8.2 เป็น 7.6 ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า อาสาสมัครสาธารณสุข สามารถทำหน้าที่ผู้สนับสนุนผู้ป่วยเบาหวานให้มีการดูแลตนเองเพื่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างมีประสิทธิผล และควรมีการขยายการศึกษาในกลุ่มที่ใหญ่ขึ้น และมีระยะการดำเนินการที่นานขึ้นเพื่อศึกษาความยั่งยืนของการดำเนินการengMahidol UniversityDiabetes type 2glycemic controlpeer supportsvillage health volunteersเบาหวานชนิดที่ 2การควบคุมระดับน้ำตาลผู้สนับสนุนอาสาสมัครสาธารณสุขVillage health volunteers as peer supports for glycemic control among type 2 diabetes patients in Thailandการสนับสนุนผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ให้ควบคุมระดับ น้ำตาลในเลือดโดยอาสาสมัครสาธารณสุขOriginal ArticleFaculty of Public Health Mahidol University