สุจิตรา เอื้อเฟื้ออารยา ทรงเดชโยธกา ปัญญาเตียมสุพรรณิการ์ แก้วมณีSuchitra AuefueaAraya SongdetYothaga PhanyateaimSupannika Kaewmaneeมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล2022-07-212022-07-212565-07-212565รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 45, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2565), 32-420125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72198บทนำ: การกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำ ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและ พบอุบัติการณ์ในหลายประเทศ ส่งผลต่อคุณภาพการดูแลรักษาในโรงพยาบาล วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินขนาดความสัมพันธ์ และวิเคราะห์ความสามารถ ในการทำนายของปัจจัยเสี่ยงกับการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำ วิธีการศึกษา: การศึกษาไปข้างหน้าเชิงพรรณนาโดยใช้วิธีการเก็บข้อมูล จากเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ในกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรงพยาบาลรามาธิบดี ที่ไดรั้บการส่งปรึกษามายงั หน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน จำนวน 160 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำ โดยมิได้ นัดหมายภายใน 28 วัน จากน้้น วิเคราะห์ขนาดความสัมพันธ์ด้วยการหาอัตราเสี่ยง สัมพัทธ์ (Relative risk, RR) และวิเคราะห์ความสามารถในการทำนายด้วยสถิติ ถดถอยโลจิสติกส์ ผลการศึกษา: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำอย่างมี นัยสำคัญ คือ มีประวัตินอนโรงพยาบาลภายในระยะเวลา 1 ปี ที่ผ่านมามากกว่า 1 ครั้ง (RR > 4) อายุมากกวา่ 70 ปี (RR > 2) โรคปอดอักเสบติดเชื้อ (RR > 2) และโรคเบาหวาน (RR < 1) ปัจจัยทำนายการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำ ได้แก่ การมีประวัตินอนโรงพยาบาลภายในระยะเวลา 1 ปี ที่ผ่านมามากกว่า 1 ครั้ง และ โรคเบาหวาน โดยมีอำนาจทำนายร้อยละ 86.30 สรุป: ปัจจัยสำคัญที่มีความสัมพันธ์ต่อการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำ คือ มีประวัตินอนโรงพยาบาลภายในระยะเวลา 1 ปี ที่ผ่านมามากกว่า 1 ครั้ง อายุ มากกว่า 70 ปี โรคปอดอักเสบติดเชื้อ และโรคเบาหวาน โดยปัจจัยการมีประวัติ นอนโรงพยาบาลภายในระยะเวลา 1 ปี ที่ผ่านมามากกว่า 1 ครั้ง และโรคเบาหวาน สามารถร่วมกันทำนายการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำได้Background: Hospital readmission is still a major public health problem. In many counties, there are the incidents that affected to performance of quality in the hospital. Objective: To evaluate the strength of association and predictability of risk factors and hospital readmission. Methods: The data of 160 patients referred to home health care unit at Ramathibodi Hospital were collected using risk assessment of unplanned readmission within 28 days. The strength of association and predictability of risk factors and hospital readmission were performed using relative risk (RR) and logistic regression. Results:Factors significantly related to hospital readmission were number of previous hospital admission more than 1 time within the last 12 months (RR > 4), age more than 70 years (RR > 2), pneumonia (RR > 2), and diabetes (RR < 1). The predictability of 2 factors model including number of previous hospital admission more than 1 time within the last 12 months and diabetes was 86.3%.Conclusions: Risk factors significantly associated with hospital readmission were number of previous hospital admission more than 1 time within the last 12 months, age more than 70 years, pneumonia, and diabetes. Number of previous hospital admission more than 1 time within the last 12 months and diabetes factors can be predicted hospital readmission.thaมหาวิทยาลัยมหิดลเครื่องมือประเมินความเสี่ยงการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำปัจจัยทำนายRisk assessment toolHospital readmissionPredictive risk factorsการประเมินขนาดความสัมพันธ์และปัจจัยทำนายระหว่างปัจจัยเสี่ยงและการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำEvaluating the Strength of the Association and Predictability of Risk Factors and Hospital ReadmissionOriginal Articleฝ่ายการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล