รุ่งทิวา สิทธิอุดมสุขRungtiwa Sittiudomsukมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาลศูนย์การแพทย์สิริกิติ์2022-10-142022-10-142565-10-142564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79919ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 155ปัจจุบันกองทุนต่างๆ ครอบคลุมสิทธิประโยชน์ของการปลูกถ่ายไต พยาบาลประสานงานปลูกถ่ายอวัยวะจะเป็นผู้ประสานงานกับอายุรแพทย์โรคไตในการเลือกเบิกชดเชยแผนการรักษาชุดบริการ (Protocol) ของผู้ป่วยแต่ละราย และประสานงานกับงานบริหารการรักษาพยาบาลในการส่งเอกสารและส่งข้อมูลเบิกชดเชยค่าบริการให้กองทุนต่างๆ ซึ่งพบปัญหาล่าช้าใน ขั้นตอนตามเอกสารจากอาจารย์เจ้าของไข้ลงนามกำกับ เนื่องจากอาจารย์เจ้าของไข้ติดราชการหรือภารกิจ ทำให้เกินเวลาการส่งเอกสาร 3-16 วัน ส่งผลให้อัตราการจ่ายชดเชยจากกองทุนต่างๆ ไม่เต็มจำนวนจากสถิติพบว่าได้รับชดเชยเพียงร้อยละ 80-95 ของอัตราการจ่ายชดเชยทั้งหมด พยาบาลประสานงานฯ จึงได้หาแนวทางร่วมกับงานบริหารการรักษาพยาบาลในการ ลดขั้นตอนการรอลงนามกำกับของแพทย์เจ้าของไข้ จาก 10 ขั้นตอน เหลือ 5 ขั้นตอน ส่งผลให้ระยะเวลาการส่งเอกสารเบิกชดเชยฯ ให้งานบริหารการรักษาพยาบาลลดลงเหลือเพียง 3-8 วันหลังผู้ป่วยจำหน่าย เพิ่มความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการภายในคิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถเบิกจ่ายชดเชยค่าบริการการปลูกถ่ายไตจากกองทุนต่างๆ ได้เต็มจำนวนthaมหาวิทยาลัยมหิดลLean processแผนการรักษาชุดบริการProtocolการปลูกถ่ายไตMahidol Quality FairAlert สิทธิ์ไม่ติดขัด เฟส 2Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล