Sein Lei ThanAroonsri MongkolchatiOrapin LaoseeMahidol University. ASEAN Institute for Health Development2017-06-292017-06-292017-06-282016Journal of Public Health and Development. Vol. 14, No.2 (May - Aug 2016), 17-311905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2415Immunization coverage is still a major concern in many third world countries especially in remote areas. In Myanmar, the hill tribe region is regarded as one of vulnerable, tangible outreach areas. The immunization coverage in mountainous areas were quite low compared to other areas of Myanmar. A cross-sectional study was conducted to examine the immunization status of children under two years of age, to describe factors towards incomplete immunization, and to determine the association between the factors and incomplete immunization of children under two years of age. Multi-stage stratified sampling was used to enroll a total of 330 respondents in rural and urban areas of the rocky regions. Mothers who has under two years old child were interviewed by trained health staffs. Chi-square test and multiple logistic regression were applied to determine factors associated with immunization. The results indicated that one-fourth (25.8%) of children had incomplete immunization. The incomplete immunization prevalence was high in urban areas (57.6%) and rural areas (42.4%). After adjusting for confounding factors, the results showed that occupation (AOR=2.18, 95%CI=1.27-3.76), perception (AOR=2.37, 95%CI=1.01-5.56), place of vaccination (AOR=2.63, 95%CI=1.53-4.51) and the person sent for vaccination (AOR=2.40, 95%CI =1.33-4.35) were significantly (P-value < 0.05) associated with incomplete immunization and the strongest predictor was volunteer help (AOR=3.15, 95%CI =1.47-6.76). In conclusion, the accessibility of immunization services is still in demand to increase immunization coverage in mountainous zones in Myanmar. It is also revealed that the role of volunteers need to be strengthened for enhancement of immunization coverage. Health information among ethnic groups should be in dialect for better understanding about the benefits of immunization.ความครอบคลุมในการรับวัคซีนยังคงเป็นปัญหาในประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณพื้นที่ภูเขาและ พื้นที่ห่างไกลของประเทศพม่า ประชากรอาศัยในเขตพื้นที่ดังกล่าวยังเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยง ความครอบคลุมการรับรับ บริการวัคซีนในพื้นที่ภูเขายังมีจำนวนต่ำกว่าเป้าหมายเมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นๆ ในประเทศพม่า การศึกษาครั้งนี้เป็นการ แบบภาพตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อความไม่สมบูรณ์ของการรับบริการวัคซีนของเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ ที่อาศัยบริเวณพื้นที่ภูเขา ประเทศพม่า มีผู้เข้าร่วมวิจัยมีทั้งสิ้นจำนวน 330 คน ในเขตพื้นที่ภูเขาทั้งในเขตเมือง และชนบท โดยทำการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ โดยเป็นสัดส่วนตามจำนวนของประชากรในพื้นที่เป้าหมาย โดยจะทำการ สัมภาษณ์ มารดาที่มีเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ ยกเว้นมารดาตั้งครรภ์ที่ไม่สามารถสื่อสารได้ การศึกษาครั้งนี้ใช้การทดสอบ แบบไคสแควร์และการถดถอยลอจิสติคพหุคูณ เพื่อทำนายปัจจัยตัวแปรต้นทีมีผลต่อตัวแปรตาม ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า เด็กจำนวนมากกว่า 1 ใน 4 (25.8%) ได้รับวัคซีนไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ความชุกของความ ไม่ครอบคลุมของการรับบริการวัคซีนสูงในพื้นที่ภูเขาในเขตเมือง (57.6%) และในชนบท (42.4%). ผลการวิเคราะห์ด้วย การถดถอยลอจิสติคพหุคูณโดยได้ควบคุมตัวแปรกวนแล้วพบว่า อาชีพ (AOR=2.18, 95%CI=1.27-3.76) การรับรู้ของ มารดา (AOR=2.37, 95%CI=1.01-5.56) สถานที่ในการรับบริการวัคซีน (AOR=2.63, 95%CI=1.53-4.51) และบุคคล ผู้พาไปรับการบริการวัคซีน (AOR=2.40, 95%CI =1.33-4.35) มีผลต่อความไม่สมบูรณ์ของการได้รับวัคซีนในประชากร กลุ่มที่ท􀄬ำการศึกษา และพบว่า ปัจจัยที่มีผลสูงสุดคือการช่วยเหลือของอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (AOR=3.15, 95% CI =1.47-6.76) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) การศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า การเข้าถึงการให้บริการทางด้านวัคซีนในพื้นที่ภูเขาของประเทศพม่ายังต้องการการปรับปรุง และพบว่าการพัฒนาความสามารถในการให้ความช่วยเหลือของอาสาสมัครประจำหมู่บ้านมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการ เพิ่มการเข้าถึงการบริการดังกล่าว นอกจากนี้การปรับปรุงด้านการสื่อสารในกลุ่มชาติพันธ์จะช่วยเพิ่มพูลการรับรู้และ ความเข้าใจในการรับบริการและเพิ่มการเข้าถึงการบริการได้ครอบคลุมทั่วถึงครบถ้วนมากยิ่งขึ้นengMahidol UniversityChildren healthImmunizationHill tribe regionsIncomplete immunizationOpen Access articleJournal of Public Health and DevelopmentวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาDeterminants of incomplete immunization among hill tribe children aged under two years in Myanmarปัจจัยที่มีผลต่อความไม่สมบูรณ์ของการรับบริการวัคซีน ของเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ ที่อาศัยบริเวณพื้นที่ภูเขา ในประเทศพม่าOriginal ArticleASEAN Institute for Health Development. Mahidol University