ดลิน รัตนสุุขวรางคณา สาริพันธุ์Dalin RattanasukWarangkana Saripan2024-06-252024-06-252567-06-252566วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2566), 349-3622822-1370 (Print)2822-1389 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98962This predictive research design aimed to investigate predictability of selected factors to explain health behaviors among people with spinal cord injuries.The PRECEDE-PROCEED Model was used as a conceptual framework to guide this study. Purposive sampling based on inclusion criteria was used to recruit a sample of 150 people with spinal cordinjuries.Four self-administered questionnaires were used in data collection: the Demographic Data Form, the Rosenberg Self-Esteem Scale, the Social Support Questionnaire,and the Health Behaviors Scale.Data were analyzed using descriptive statistics,correlation coefficient and multiple regression analysis.The findings revealed that social support and self-esteem were significantly positively related to health behaviors among people with spinal cord injuries. There were no relationships of age and education to health behaviors among them.Social support and self-esteem jointly explained 23%of the variance in health behaviors among people with spinal cord injuries.Social support was the strongest predictor of health behaviors. Our findings suggest that nurses should promote social support and self-esteem to enhance health behaviors among people with spinal cord injuries.การศึกษาเชิงทำนายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังโดยใช้แบบจำลองPRECEDE-PROCEED เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังจำนวน150 รายเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 4 ชุด เพื่อประเมินข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมสุขภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือสถิติเชิงพรรณนาสถิติสหสัมพันธ์และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติแต่อายุและระดับการศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลัง การสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังได้ร้อยละ 23 โดยที่การสนับสนุนทางสังคมเป็นตัวแปรทำนายที่มีอิทธิพลมากที่สุด จากผลการศึกษานี้พยาบาลควรส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และส่งเสริมให้ครอบครัวผู้ดูแลร่วมส่งเสริมให้ผู้ป่วยพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่องthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าพฤติกรรมสุขภาพความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองการสนับสนุนทางสังคมการบาดเจ็บไขสันหลังHealth behaviorsSelf-esteemSocial supportSpinal cord injuriesปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังFactors Affecting Health Behaviors among People with Spinal Cord InjuriesResearch Articleโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล