ระติรัตน์ ค้ำชูอิสรา ศริพันธ์พรรณทิพย์ ปรางค์วิเศษRatirat KumchooIsara SripunPhanthip Prangwiset2023-12-152023-12-152566-12-152564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91440ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 193ปัจจุบันคณะฯ มีสินทรัพย์ที่ได้รับบริจาคประมาณ 15,000 รายการ ต่อปี โดยกระบวนการรับสินทรัพย์ถาวรจากการรับบริจาคมีหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 2 หน่วยงาน และมีขั้นตอนการทำงาน 4 ชั้นตอน ได้แก่ 1. การ บันทึกข้อมูลหลัก (Master) 2. การบันทึกรับมูลค่าของสินทรัพย์ (Asset Value) 3. การประมวลค่าเสื่อมราคา 4. การบันทึกบัญชีรับรู้รายได้ ชั้นตอนที่ 1-3 เป็นหน้าที่ของงานบริหารพัสดุฯ โดยขั้นตอนที่ 1 และ 2 มีเงื่อนไขการ บันทึกที่ซับซ้อนและไม่มีระบบการแจ้งเตือนข้อผิดพลาด ดังนั้นจึงมีความเสี่ยง ที่จะทำให้เกิดข้อผิดพลาดจากการบันทึกข้อมูล ซึ่งส่งผลกระทบต่องานบัญชี ในขั้นตอนสุดท้ายในรอคอยข้อมูลจากการแก้ไขข้อผิดพลาด(Rework) ทั้งนี้ งานบัญชีมีข้อจากัดในการทำงานเพียง 1 วันในการจัดทำ Template file ด้วยระบบ Manual จำนวน 16 ไฟล์ เพื่อใช้ในการ upload เข้าระบบ SAP นอกจากนี้ยังมีผลต่อความน่าเชื่อถือต่อข้อมูลที่ปรากฎในรายงานงบการเงิน ของคณะฯ อีกด้วยapplication/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าสินทรัพย์รับบริจาคสินทรัพย์อิเล็คทรอนิคส์อัตโนมัติMahidol Quality Fairการพัฒนากระบวนการบันทึกบัญชีรับทรัพย์สินบริจาคแบบอิเลคโทรนิคส์Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล