Weena JiratchariyakulTanawan KummalueKosol RoongruangchaiYaowalak U-PratyaChanyapat Sangsuwon2023-09-072023-09-07201020102023Thesis (Ph.D. (Pharmaceutical Chemistry and Phytochemistry))--Mahidol University, 2010https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89480การศึกษาฤทธิ์ต้านอะมีบาของแฟรกชันเมทานอลของสมุนไพรหนอนตายใบหกที่มีมาก่อน พบว่า มีฤทธิ์ที่ทำให้อะมีบาตาย 50% ขึ้นไป ที่ 62.5μg/ml ดังนั้นจึงแยกสกัดสารในแฟรกชันเมทานอลต่อไป ซึ่งแยก ต่อได้เป็น FFI-FFV จากนั้นจึงนำFFI-FFVมาทดสอบฤทธิ์ต้านอะมีบาได้ผลดังนี้ FFIII FFIV และ FFV ทำให้ อะมีบาที่ตาย 58.0 53.3 และ 57.1% ตามลำดับ ที่ความเข้มข้นต่ำสุด 31.25μg/ml และจากการทำโครมาโทร กราฟฟีในส่วนของ FFII-FFV แยกได้สารสำคัญเป็น C1-C14 จึงนำสาร C6 C10 C12 C13 และC14 ซึ่งมีจำนวน มากพอ ทำการทดสอบฤทธิ์ต้านอะมีบาซึ่งสรุปผลได้ดังนี้ C10 C13 และC14 มีฤทธิ์ต้านอะมีบาเป็น 56.1, 78.1 และ 56.1% ที่ความเข้มข้นต่ำสุดเป็น7.81μg/ml ในเวลา 72 ชั่วโมง ส่วน C12 เป็น 77% ที่ความเข้มข้นต่ำสุดเป็น 125μg/ml ในเวลา 48 ชั่วโมง และพบว่า C6 ไม่มีฤทธิ์ต้านอะมีบาxx, 201 leaves : ill. (some col.)application/pdfengAmoeba -- virologyChemistry, PharmaceuticalLeukemiaPlants, MedicinalHerbs -- Therapeutic use -- ThailandNon Tai Baihong (Plants) -- pharmacologyStudy of cytotoxic and antiamoebic components from Pouzolzia indica gaudich. var. Angustifolia weddการศึกษาองค์ประกอบที่มีฤทธิ์เป็นพิษต่อเซลล์และต้านอะมีบาของสมุนไพรหนอนตายใบหกMahidol University