เบญจวรรณ แซ่เล้าขนิษฐา จิตรอารีมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด2021-09-102021-09-102564-09-102561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63481ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 234ปัจจุบันคลินิกกายภาพบำบัดได้เกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก อ้างอิงจาก สภากายภาพบำบัดพบว่ามีอยู่ประมาณ 157 แห่งทั่วประเทศ ทำให้ผู้ป่วยมี ทางเลือกในการเข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด ส่งผลให้เกิดการแข่งขันใน การให้บริการสูง ดังนั้นการวัดระดับความพึงพอใจ (Patient satisfaction) ของผู้รับบริการเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญในการพัฒนางานบริการ ศูนย์ กายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมีการการสำรวจความพึงพอใจเพื่อค้นหาผลลัพธ์ ของงานบริการและต้องการให้เกิดการพัฒนางานบริการอย่างยั่งยืน แบบ ประเมินความพึงพอใจจึงมีความจำเป็นที่ต้องสะท้อนจุดแข็งและโอกาสพัฒนา ได้เป็นอย่างดี ผู้วิจัยจึงต้องการพัฒนาแบบประเมิน โดยการศึกษาหาปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจของผู้รับบริการศูนย์กายภาพบำบัดthaมหาวิทยาลัยมหิดลความพึงพอใจของผู้ป่วยคลินิกกายภาพบำบัดการพัฒนางานบริการการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อระดับความพึงพอใจของผู้ป่วยที่มารับบริการProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล