ศิริกัญญา ไผ่แก้วสมเด็จ เรียงสัยประภาพร ต้นแก้วมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี2021-09-022021-09-022564-09-022561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63449ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 205ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำของทารกแรกเกิด ( Neonatal hypoglycemia) เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยหากไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่าง รวดเร็ว จะส่งผลต่อระบบประสาทและอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ โรงพยาบาลรามาธิบดีมีแนวทางการดูแลรักษาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ โดย ตรวจคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือดของทารกกลุ่มเสี่ยงภายใน ½-2 ชั่วโมงหลัง คลอดทันที และใช้การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดของการทดสอบ ณ จุดดูแล ผู้ป่วย (Poct-glu) ซึ่งระบบนี้ต้องใช้แถบแสดงเลขบัตรโรงพยาบาล (HN barcode) สำหรับสแกนเข้าระบบและบ่งชี้ว่าเป็นค่าน้ำตาลของทารกรายนั้น การนำ HN barcode จากเวชระเบียนมาใช้พบว่ามีความล้าช้า ต่อมาจึงนำ เลขบัตรโรงพยาบาลชั่วคราวมาใช้ (Dummy barcode) ในการตรวจแต่ยังพบ ความผิดพลาด จึงนำ HN barcode จากใบตรวจเลือดไทรอยด์มาใช้เพื่อเพิ่ม ความถูกต้องและรวดเร็วของการรายงานผลตรวจ Poct-glu ของทารกแรก เกิดในห้องคลอดเพื่อการวินิจฉัยภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้ทันที ทำให้การ รายงานผล ถูกคน ลดระยะเวลาและภาระงานของเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องthaมหาวิทยาลัยมหิดลNeonatal hypoglycemiaPoct-gluHN barcodeDummy barcodeน้ำตาลในเลือดทารกแรกเกิดHN barcode for newborn Poct-gluProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล