Songpol OngwattanakulSrithong Polvises2025-03-112025-03-11200520252005Thesis (M.Sc. (Technology of Information system Management))--Mahidol University, 20059740459757https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/106050Technology of Information system Management (Mahidol University 2005)Information has become a key factor to the success of modern businesses, as a famous quote says, "Information is power". To gain such power for competitive advantage typically involves a massive amount of data. Data becomes worthless if it is unstructured for modeling, unavailable for accessing, hard for using and difficult for retrieving. Furthermore, the costs of maintaining may grow wastefully. All decisions are made upon information. Therefore, the accuracy of data and the analysis methods become a critical factor to the quality of a decision. At present, Data warehousing (DW) is among the best solutions for gathering and maintaining information. One of the main objectives of DW is to support decision-making. Some aspects of DW which must be satisfied are information that is, subject-oriented, integrated, non-volatile, and time-variant, and finished application that is easily accessed and gives a minimal response time. The proposed system is a prototype of a data warehouse for the Thesis Operations with a web-based OLAP system: a case study for the School of Nursing Ramathibodi Hospital, Mahidol University. The source data, which relies on multiple platforms and heterogeneous sources, are fetched to a DW database for analysis and summarization, and then presented to the user via internet. The report result leads to better decisions and a better quality of academic Thesis Operations. The main purpose of this system focuses on the methodologies of establishing the DW: Star schema design, ETL process design, OLAP cube creation, web-based OLAP applications with .NET framework, etc. The system was evaluated by high level academic executives. The result revealed that the most satisfaction came from the ease of use and the usefulness (100%). The lowest scores were the accuracy and integrity of the reports, and completeness of functionality (91.2% and 90% respectively). The overall satisfaction of the entire system was 95.1%. Full implementation of the DW project is a large-scale and highly complex project, which combines various disciplines and techniques in computer science and engineering such as system analysis, software engineering, and database administration. However, the project cannot be completed without good planning, hard working, and self- discipline.มีคำกล่าวไว้ว่า การมีข้อมูลมาก ทำให้มีโอกาสในการแข่งขันสูง เป็นพลังสมองและอำนาจ แต่ถ้ามองในมุมกลับ การที่มีข้อมูลจำนวนมาก แต่ขาดการจัดเก็บที่เป็นระบบ ยุ่งยากในการนำมาใช้งานและ ค้นหา องค์กรอาจต้องเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมากในการเก็บรักษาข้อมูลเหล่านั้นไว้โดยไม่จำเป็น ใช้ประโยชน์ไม่คุ้ม และหากมีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์อย่างผิดพลาด อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อการดำเนินงานได้ระบบคลังข้อมูล คือ ระบบที่เหมาะสมที่สุด ณ เวลานี้ ที่จะสามารถตอบโจทย์และสนองตอบความต้องการดังกล่าวได้ เพราะวัตถุประสงค์หลักของระบบนี้คือ สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร โดยมีคุณลักษณะพิเศษ คือ เป็นการรวบรวม เรียบเรียงข้อมูลที่คัดกรองแล้ว จากหลายๆ ที่ หลายๆ เรื่องที่สนใจในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง มาจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบในที่เดียวกัน เข้าใจได้ง่าย เข้าถึงได้เร็ว และทันกาลระบบที่นำเสนอนี้ จะเป็นโปรแกรมต้นแบบของระบบคลังข้อมูลและเว็บเบสโอแล็บ โดยใช้ข้อมูลจากระบบการทำวิจัยของนักศึกษามหาบัณฑิต โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเดิมถูกจัดเก็บอยู่ในหลากหลายรูปแบบ มาวิเคราะห์ สรุปรวม เพื่อให้ได้ผลทางด้านสถิติ นำไปใช้ในการวางแผนปรับกลยุทธ์ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบการทำวิจัยของนักศึกษาได้ เนื้อหาหลักของระบบจะมุ่งเน้นไปที่ขั้นตอนและกระบวนในการพัฒนาระบบคลังข้อมูล เช่น วิธีการออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลที่สามารถเพิ่มความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลที่เรียกว่า star schema กระบวนการแปลงข้อมูลดิบจากหลายๆ แหล่ง ก่อนโอนย้ายเข้าสู่คลังข้อมูลที่เรียกว่า ETL การออกแบบและสร้างโอแล็บคิว (OLAP cube) และสุดท้ายจะแสดงวิธีการนำเสนอข้อมูลจากโอแล็บผ่านทางเว็บ ด้วยเทคโนโลยีของ .NET FrameworkR รวมทั้งแผนการดำเนินงานในการติดตั้งใช้งานจริง ผลการประเมินจากการทดลองใช้งานระบบของผู้บริหารระดับสูง พบว่า ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวมเท่ากับ 95.1% โดยมีความพึงพอใจสูงสุด (100%) ในเรื่องความง่ายในการใช้งานและเป็นประโยชน์ ส่วนความถูกต้องของข้อมูลและความสมบูรณ์ของระบบมีระดับคะแนนน้อยสุดที่ 91.2% และ 90% ตามลำดับ การทำระบบคลังข้อมูล ถ้าทำอย่างเต็มรูปแบบแล้ว จะเป็นงานที่ยุ่งยากซับซ้อนและใช้เวลามากศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์ทุกแขนงจะถูกนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างลงตัว อย่างไรก็ดีโครงงานจะไม่แล้วเสร็จ ถ้าขาดการวางแผนกระบวนการทำงานทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ระเบียบix, 103 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าData warehousingMultidimensional databasesOLAP technologyData warehousing with an olap system : a case study for thesis operations of the School of Nursing, Ramathibodi hospital, Mahidol Universityระบบคลังข้อมูลวิทยานิพนธ์ด้วยโอแล็บ : กรณีศึกษาสำหรับโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลMaster ThesisMahidol University