Chavarat JarungvittayakonPaphon Sa-ngasoongsongKitchai LuksameearunothaiNorachart SirisreetreeruxNoratep KulachoteThumanoon RuangchaijatupornSasivimol RattanasiriSuporn ChuncharuneePatarawan WoratanaratPongsthorn Chanplakornชวรัฐ จรุงวิทยากรปพน สง่าสูงส่งกิจชัย ลักษมีอรุโณทัยนรชาติ ศิริศรีตรีรักษ์นรเทพ กุลโชติธรรมนูญ เรืองชัยจตุพรศศิวิมล รัตนสิริสุภร จันท์จารุณีภัทรวัณย์ วรธนารัตน์พงศธร ฉันท์พลากรMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of OrthopedicsMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Diagnostic and Therapeutic RadiologyMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of MedicineMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Section of Clinical Epidemiology and Biostatistics2022-07-262022-07-262022-07-262019Ramathibodi Medical Journal. Vol. 42, No. 1 (January-March 2019), 10-180125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72248Background: Combined recombinant human erythropoietin (rHuEPO) and iron therapy significantly reduced postoperative blood loss (PBL) and allogeneic blood transfusion (ABT) in elderly hip fracture (HF) patients. However, the minimum effective rHuEPO dosage and route had not been studied before. Objective: To evaluate the efficacy of single low dose preoperative intravenous rHuEPO on PBL and ABT in elderly HF. Methods: A randomized controlled trial (RCT) in 32 elderly HF underwent surgical intervention was conducted. The patients were randomly assigned to receive a single dose of 10 000 IU rHuEPO (EPO group, n = 16) or placebo (control group, n = 16) on admission. All patients were given 200-mg iron sucrose intravenously for 3 days after admission. Perioperative data, outcome related to PBL, ABT, rHuEPO adverse effects, and functional outcome during 1-year period were collected and analyzed. Results: There was no significant difference in demographic data, postoperative complication, and functional outcome between both groups (P < .05). Total hemoglobin loss (THL) and the number of patients receiving ABT in EPO group (2.1 ± 1.0 g/dL and 12 patients) did not significant differ from those in control group (2.2 ± 0.8 g/dL and 10 patients) (P = .81 and P = .44, respectively). However, EPO group demonstrated a nonsignificant greater in hemoglobin recovery (P = .07) and increase in reticulocyte count (P = .10). Conclusion: Combined single low dose preoperative intravenous rHuEPO with iron therapy does not significantly reduce PBL and ABT in elderly HF compared to who received intravenous iron therapy alone. However, this adjunct rHuEPO may hasten the hemoglobin recovery and helpful for the patients’ outcome.บทนำ: การให้ฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดสังเคราะห์ช่วยลดการสูญเสียเลือดระหว่างผ่าตัดและช่วยลดอัตราการให้เลือดหลังการผ่าตัดกระดูกสะโพกหักในผู้สูงอายุ แต่ยังไม่มีรายงานการศึกษาเกี่ยวกับขนาดและวิธีการให้มาก่อน วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการใช้ฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดสังเคราะห์ในการลดการสูญเสียเลือดระหว่างการผ่าตัดและลดอัตราการให้เลือดหลังการผ่าตัด วิธีการศึกษา: ผู้ป่วยจำนวนทั้งหมด 32 คน แบ่งแบบสุ่มเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ได้รับฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดสังเคราะห์ และกลุ่มที่ได้รับยาหลอก โดยทั้งสองกลุ่มจะได้รับธาตุเหล็กในน้ำตาลซูโครสทางหลอดเลือดดำ จากนั้นทำการประเมินผลการลดการสูญเสียเลือดขณะผ่าตัด การลดการรับเลือดหลังผ่าตัด ผลข้างเคียงและเพิ่มคะแนนผลลัพธ์ในการใช้งาน ผลการศึกษา: ลักษณะพื้นฐานของสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดและคะแนนผลลัพธ์ในการใช้งานของสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน การได้รับเลือดบริจาคของกลุ่มที่ได้รับฮอร์โมน (2.1 ± 1.0 กรัม/เดซิลิตร) ไม่แตกต่างกันกับกลุ่มที่ได้รับยาหลอก (2.2 ± 0.8 กรัม/เดซิลิตร) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตาม ในกลุ่มที่ได้รับฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดสังเคราะห์อาจมีผลในการเพิ่มระดับฮีโมโกลบินหลังการผ่าตัด (P = .07) และเพิ่มระดับเม็ดเลือดแดงตัวอ่อน (P = .10) สรุป: การให้ฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดสังเคราะห์ร่วมกับการให้ ธาตุเหล็กในน้ำตาลซูโครสในผู้ป่วยที่ทำการรักษาภาวะกระดูกสะโพกหัก ด้วยการผ่าตัด ไม่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านการลดการสูญเสียเลือด หลังการผ่าตัดและอัตราการได้รับเลือดengMahidol UniversityRecombinant human erythropoietinElderly hip fractureAllogeneic blood transfusionPostoperativeBlood Lossฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดสังเคราะห์ภาวะกระดูกสะโพกหักในผู้สูงอายุอัตราการได้รับเลือดหลังผ่าตัดการสูญเสียเลือดหลังผ่าตัดDoes a Single Low Dose Preoperative Intravenous Erythropoietin Affect Postoperative Blood Loss and Transfusion in Elderly Hip Fracture Patients Receiving Intravenous Iron Therapy: A Randomized Controlled Trialการศึกษาประสิทธิภาพของการให้ฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดสังเคราะห์ทางกระแสเลือดก่อนการผ่าตัดต่อการสูญเสียเลือดระหว่างการผ่าตัดและอัตราการรับเลือดหลังการผ่าตัด ในผู้ป่วยสูงอายุที่ได้รับการรักษากระดูกสะโพกหักด้วยการผ่าตัดOriginal ArticleDepartment of Orthopedics Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityDepartment of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversitySection of Clinical Epidemiology and Biostatistics Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityDepartment of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University