Sukathida UbolSompone Theerasurakarn2025-02-032025-02-03199920251999Thesis (M.Sc. (Microbiology))--Mahidol University, 199997897466293319746629336https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103488Microbiology (Mahidol University 1999)Viruses such as HIV, influenza, picornavirus, and others are known as stimulators of apoptosis. This individual cellular elimination is a preferential host defense in regenerative tissues. In contrast, if this death occurred in nonregenerating cells, such as neurons of the central nervous system, may be resulted in disease. The pathogenesis of rabies is still unknown. Many reports indicate that there are no necrosis and neuronophagia in rabies virus infected brain. This result suggests that the viral replication does not destroy neuron directly but the damage may cause from host immune mechanisms. The target cells for rabies virus are the neural tissues. Here, we have studied the outcome of the interaction between rabies virus (CVS-11) and mouse brain cells. Replication of rabies virus in suckling mouse brain cells resulted in brain cell apoptosis, detected by DNA fragmentation and in situ apoptosis within 25 hours after infection and before evidence of intracerebral immune activation. There were several clinical signs of illness in infected newborn mice within 25 hours after the appearance of DNA fragmentation and before infiltration of lymphocytes. which suggested that onset of illness started independently of the immune function. This conclusion was supported by the occurrence of massive apoptosis followed by paralysis in rabies virus-infected immunosuppressed mice. Direct, viral-induced, neuronal apoptosis was the earliest death mechanism detected in these mice. We propose that the pathogenesis of this fixed strain of rabies virus in mice begins with the induction of apoptosis by rabies virus replication. Cerebral damage may then be amplified by immunological mechanisms plus an additional unidentified factor. Caspase family of protease, such as ICE and Nedd-2, play a role in activation of apoptotic death of neuronal cells infected with rabies virus. Both ICE and nedd-2 gene were activated after the cells were infected with rabies virus. However bcl-2 gene which play a significant role in apoptosis in other cell systems was not change during the course of infection.เป็นที่รู้กันว่าไวรัสบางชนิด เช่น HIV, influenza, picornavirus และ อื่นๆ สามารถ กระตุ้นการตายของเซลล์แบบ apoptosis ได้ ซึ่งเป็นกลไกการรักษาตัวเองของเนื้อเยื่อชนิด ชนิด regenerative tissues ในทางตรงกันข้ามถ้าการตายของเซลล์แบบ apoptosis เกิดขึ้นใน เนื้อเยื่อชนิด nonregenerating tissues เช่น เซลล์ประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง ก็จะก่อให้ เกิดพยาธิสภาพได้ พยาธิสภาพของโรคพิษสุนัขบ้านั้นยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด จากรายงานของนักวิจัยหลาย กลุ่มพอสรุปได้ว่า ไม่พบ necrosis และ neurophagia ในสมองที่ติดเชื้อ จึงสันนิษฐานว่า การเจริญเติบโตของไวรัสไม่ได้ทำให้เกิดความเสียหายต่อเซลล์ประสาทโดยตรง แต่เกิดจากกลไก ทางระบบภูมิคุ้มกัน เซลล์เป้าหมายของไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าคือเซลล์ประสาท เราจึงศึกษาผลการ นำไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าสายพันธุ์ CVS-11 เข้าสู่เซลล์สมองหนู จากการตรวจสอบการแตกหักของ ชิ้นส่วน DNA ทำให้ทราบว่าการเพิ่มจำนวนของไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าก่อให้เกิดโปรแกรม apoptosis ภายในเวลา 25 ชั่วโมงหลังติดเชื้อ โดยเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นก่อนที่จะมีการกระตุ้นระบบ ภูมิคุ้มกัน ลูกหนูที่ได้รับเชื้อไวรัสแสดงอาการป่วยอย่างเด่นชัดหลังจากเกิด apoptosis (ภายหลังการติดเชื้อ 25 ชั่วโมงขึ้นไป) และอาการป่วยของลูกหนูเกิดขึ้นก่อนที่จะพบ lymphocytes infiltration ในสมอง จากข้อมูลดังกล่าวสรุปได้คือ การติดเชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าทำให้ เกิดการตายของเซลล์ประสาทด้วยขบวนการ apoptosis และการตายแบบ apoptosis นี้เป็นตัวกำหนด อาการพยาธิสภาพโดยไม่ขึ้นกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน ซึ่งข้อสรุปดังกล่าวถูกยืนยันด้วย ผลการทดลองในหนูถีบจักรเต็มวัยที่ถูกกดระบบภูมิคุ้มกันได้รับเชื้อไวรัสนี้ แล้วพบการเกิด apoptosis ตามด้วยอาการป่วยเช่นกัน ดังนั้นการเกิด apoptosis จากการเพิ่มจำนวนของไวรัส จึงเป็นสาเหตุหลักของการเกิดพยาธิสภาพ โดยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากระบบภูมิคุ้มกันนั้น จะเป็นเพียงตัวเสริมให้อาการของโรคเกิดรุนแรงขึ้นแต่ไม่ใช่สาเหตุเบื้องต้นของการโรค เมื่อเราศึกษา genes ที่เกี่ยวข้องกับกลไกของ apoptosis เราพบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง ของ Bcl-2 ในลูกหนูถีบจักรที่ติดเชื้อไวรัสพิษสุนัขบ้า แต่พบว่า ICE จะเพิ่มขึ้นในระหว่าง การเกิด apoptosis และ Nedd-2 เพิ่มขึ้นภายหลังการเกิด apoptosis จากการทดลองเราพอสรุป ได้ว่า Bcl-2 ไม่สามารถยับยั้ง apoptosis จากไวรัสพิษสุนัขบ้าได้ และไวรัสกระตุ้นการเกิด apoptosis ของเซลล์ประสาททาง Caspase pathway โดยมี ICE (Caspase 1) เป็นตัวหลัก และ Nedd-2 (Caspase 2) เป็นตัวเสริมการตายxiv, 115 leavesapplication/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าApoptosisRabies in animalsInduction of apoptosis in sucking mouse neural cells during fixed strain of rabies virus infectionการเกิด apoptosis ในสมองลูกหนูถีบจักรระหว่างการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าสายพันธุ์ fixed strainMaster ThesisMahidol University