เจนจิรา เพ็งแจ่มวิสาข์สิริ ตันตระกูลสมประสงค์ เหลี่ยมสมบัติปรีชา ศรีศักดาภาณุวัฒน์ เนียมบาง และคณะ2023-12-042023-12-042566-12-042564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91260ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 187โรคหยุดหายใจขณะหลับเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ปัจจุบันรักษาโดย ใช้เครื่องอัดอากาศแรงดันบวก แต่พบว่าผู้ป่วยมีอัตราการยอมรับและการใช้ เครื่องอย่างต่อเนื่องต่ำ จึงได้จัดทำโครงการปรับความรู้และพฤติกรรมก่อน การใช้เครื่องฯ (CPAP education class) โดยในปี พ.ศ. 2556-2561 มีผู้ป่วย ที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 2,029 คน ผลการศึกษาวิจัยโครงการฯ นี้ พบว่า มีอัตราการยอมรับในการใช้เครื่องสูงในบริบทของผู้ป่วยคนไทย แต่พบปัญหา คือมีผู้ป่วยบางส่วนสนใจ แต่ไม่มีเวลาและมีปัญหาด้านการเดินทาง รวมถึงการ ให้บริการในด้านต่างๆ เช่น บุคลากร สถานที่ เครื่องมือมีจำนวนจำกัด ทำให้ ในปี พ.ศ.2561 ทางศูนย์ฯ ได้พัฒนารูปแบบการให้บริการความรู้ผ่านระบบ ทางไกล เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้รับบริการ ประกอบกับมีเหตุการณ์การ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทางศูนย์ฯ จึงได้มีการ ผลักดันนาโครงการฯ นี้มาใช้กับผู้รับบริการให้เร็วขึ้น เพื่อให้เข้าถึงการ ให้บริการ โดยให้บริการแบบไร้สัมผัส แต่ยังคงประสิทธิภาพในการให้บริการ รวมถึงลดภาระการเข้ามาในโรงพยาบาลโดยไม่จำเป็นapplication/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าโรคหยุดหายใจขณะหลับเครื่องอัดอากาศแรงดันบวกการให้ ความรู้ผ่านระบบทางไกลMahidol Quality Fairการให้บริการให้ความรู้และแก้ไขปัญหาแบบครบวงจรผ่านระบบทางไกล ในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องอัดอากาศแรงดันบวกของศูนย์โรคการนอนหลับ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีTele-CPAP education classProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล