เบญจวรรณ ซิลเลียคุสกณิกนันต์ นรินทรกุล ณ อยุธยาสุรีรัตน์ ศรีพรชัยเจริญศรีวิไล ปาลกะวงศ์ทีมเจ้าหน้าที่ห้องผ่าตัดจักษุ-โสตฯมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี2021-09-302021-09-302564-09-302561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63773ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 282บริบทผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดตาแบบผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยร้อยละ 80 จะได้รับการเตรียมผ่าตัดโดยการขยายม่านตา ณ ห้องเตรียมผ่าตัดระหว่างเวลา 7.30-10.30 น. เพื่อให้สามารถทำผ่าตัดได้โดยง่าย ผู้ป่วยปลอดภัย ลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะผ่าตัดจากนั้นจึงส่งผู้ป่วยมารอที่หน้าห้องผ่าตัด ปัญหาคือเมื่อถึงเวลาผ่าตัดพบว่าม่านตาของผู้ป่วยไม่ขยายใหญ่มากพอ กล่าวคือในผู้ป่วยรายแรกๆก็ประสบปัญหาม่านตาขยายไม่ทัน ในผู้ป่วยรายหลังๆก็พบปัญหารูม่านตาหดเล็กลง การแก้ปัญหาทำด้วยการใช้สำลีปั้นเป็นเส้นเล็กๆ ใส่ยาขยายม่านตา และวางไว้ใต้เปลือกตาล่าง (Lower fornix)ของผู้ป่วย ซึ่งก่อให้เกิดอาการระคายเคืองตา เป็นอันตรายกับกระจกตาหากสำลีนั้นไปสัมผัสอยู่ จากการทบทวนงานวิจัย พบการศึกษาเปรียบเทียบผลการขยายรูม่านตาด้วย 1% Tropicamide Eye drop ระหว่างการหยอด และแบบใส่สำลีสอดใต้เปลือกตาล่างในผู้ป่วยโรคเบาหวาน พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างการบริหารยาทั้งแบบหยอดยาตามปกติ 5 นาที จำนวน 6 ครั้ง และการบริหารยาโดยใส่สำลีสอดใต้เปลือกตาล่างทุก 10 นาที จำนวน 4 ครั้งthaมหาวิทยาลัยมหิดลขยายรูม่านตาสอดใส่สำลีปลอดภัยการผ่าตัดตาใหญ่พอมั้ยProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล