Parkorn SuwanichRaywadee RoachanakananJaruwan WongthanateKamonchat Koedmankhong2024-01-192024-01-19201620242016Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2016https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93257Technology of Environmental Management (Mahidol University 2016)The objectives of this research were to study the operational situation of relevant agencies in the mitigation management of earthquake and flood on dam failure of downstream community of Vajiralongkorn Dam, to investigate people's knowledge, understanding, participation attitude towards the problems and problem solving from earthquake and flood and to find mitigation guidance for future disasters. In the process of this study, questionnaire (n=366), in-depth interviews (n=20) and non-participant observation were analyzed. The results showed that people in the area have a little knowledge to help themselves and they do not thoroughly obtain information about disaster thus people need help from the agencies the whole time (before, during, after disaster). At present related government organizations in the area such as Disaster Prevention and mitigation Provincial Office Kanchanaburi Thongphaphum Brance, Subdistrict (DDPM), Subdistrict Administrative Organization (SAO), and Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) have more attention about earthquake management than in the past. A campaign should be done to increase understanding and public awareness about dam mitigation so that the people will become more involved and eventually get their participation. So the participation of people in the area is the important factor which leads to success in the disaster risk management.งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการรับมือแผ่นดินไหวและน้ำท่วมจากเขื่อนพิบัติของชุมชนท้ายเขื่อนวชิราลงกรณ์ ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อปัญหาและการแก้ปัญหาในการจัดการแผ่นดินไหวและน้ำท่วมจากเขื่อนพิบัติ และการหาแนวทางสำหรับการจัดการรับมือกับพิบัติในอนาคต วิธีการศึกษาโดยใช้แบบสอบถาม (n = 366) การสัมภาษณ์เชิงลึก (n = 20) และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ผลการศึกษาพบว่าประชาชนในพื้นที่ยังขาดความรู้ในการที่จะช่วยเหลือตัวเองและยังไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับภัยพิบัติอย่างทั่วถึง ประชาชนมีความกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยของเขื่อนวชิราลงกรณ์ และต้องการความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในช่วงเวลาทั้ง ก่อน ระหว่าง และหลังเกิดภัยพิบัติ ปัจจุบันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เช่น สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตให้ความสำคัญกับการจัดการภัยพิบัติเพิ่มมากขึ้น ควรมีการรณรงค์เพื่อเพิ่มความเข้าใจและความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น เนื่องจากการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เป็นปัจจัยที่สำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยงจากเกิดภัยพิบัติx, 93 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าEarthquake -- Thailand -- KanchanaburiDam failures -- Thailand -- KanchanaburiNatural disaster warning systemsEarthquake and flood mitigation on dam failure of downstream community of Vajiralongkorn Dam, Thongphaphum district, Kanchanaburi provinceการจัดการรับมือจากแผ่นดินไหวและน้ำท่วมจากเขื่อนวิบัติของชุมชนท้ายเขื่อนวชิราลงกรณ อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรีMaster ThesisMahidol University