อุทุมพร วงษ์ศิลป์ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทยภาสกร สวนเรืองนำพร สามิภักดิ์Utoomporn WongsinKwanpracha ChiangchaisakulthaiPassakorn SuanrueangNumporn Samipuk2024-06-262024-06-262567-06-262567วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 10, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2567), 433-4402697-6285 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99032บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนําเสนอข้อมูลกลไกการจ่ายและการควบคุมราคาค่าบริการกรณีการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน โดยการทบทวนกลไกการจ่ายและกลไกลการควบคุมราคาของต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศไต้หวัน ประเทศสิงคโปร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ หรือประเทศสวีเดน ทั้งนี้เพื่อนํา ไปสู่แนวทางในพัฒนาข้อเสนอกลไกการจ่ายและการควบคุมอัตราการเบิกจ่ายค่าบริการกรณีผู้ป่วยฉุกเฉินและ ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินในโรงพยาบาลเอกชนในบริบทของประเทศไทย ทั้งนี้ รูปแบบการจ่ายประกอบด้วย การจ่ายตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG) การจ่ายตามรายการและราคาที่หน่วยบริการเรียกเก็บ (fee for service) และ การร่วมจ่าย (Co-pay) และมาตรฐานในการควบคุมราคาค่าบริการกรณีผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติและผู้ป่วยฉุกเฉิน ประกอบด้วย การควบคุมต้นทุนและพัฒนาระบบการให้บริการ การกําหนดอัตราการจ่ายให้กับโรงพยาบาล รวมถึงการปรับใช้การเจรจาต่อรองราคา และการนําเอาระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูลกลางรองรับระบบการตัดสินใจของผู้กําหนดนโยบายThis article aimed to provide information on payment mechanisms and price control for emergency patients based on experiences from five countries: Taiwan, Singapore, the United States, England, and Sweden. The findings may lead to recommendations on payment mechanisms and price controls for emergency patients after 72 hours in Thailand. Payment mechanism included a diagnose-related groups (DRGs) payment, fee for service and Co-pay. Price control involved cost control and service provision development, reimbursement rate determination, negotiations, and the use of an information technology system to pool information for policymakers' decisions.thaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้ารูปแบบการจ่ายการควบคุมราคาผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติผู้ป่วยฉุกเฉินpayment mechanismprice controlemergency patientsกลไกการจ่ายและการควบคุมราคาค่าบริการกรณีการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินในต่างประเทศ: ประสบการณ์จาก 5 ประเทศPayment mechanism and price regulation for emergency patients: Experience from 5 countriesArticleภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลสํานักวิชาการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลมูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง (สคส.)