ลดาวรรณ อุบลกัลยาณ์ เอี่ยมลำน้ำมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-09-172021-09-172564-09-172561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63576ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 244ที่มา การใส่ท่อเจาะคอเป็นการรักษาที่พบบ่อยในผู้ป่วยเด็ก สิ่งสำคัญที่สุดในการดูแลคือการป้องกันการเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอ แต่ปัจจุบันยังพบการเลื่อนหลุด และขาดแนวปฏิบัติในการดูแล วัตถุประสงค์ 1) เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอ 2) เพื่อพัฒนามาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอ ตัวชี้วัดผลสำเร็จและผลลัพธ์ 1) อุบัติการณ์การเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอ และ 2) อุบัติการณ์เชือกผูกรัดท่อ เจาะคอหลวมลดลงจากก่อนเริ่มโครงการจนไม่เกิดขึ้น 3) อุบัติการณ์การดึงรั้งของท่อเจาะคอ จาก circuit เครื่องช่วยหายใจไม่เกิดขึ้นหลังเริ่มโครงการ 4) อุบัติการณ์ท่อเจาะคอเผยอขึ้นมาเหนือ stoma ลดลงจากก่อนเริ่มโครงการจนไม่เกิดขึ้น และ 5) อัตราการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 99 ผลจากนวัตกรรม อุบัติการณ์การเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอลดลงจนไม่เกิดขึ้น และไม่เกิดความเสี่ยงที่ทำให้ท่อเจาะคอเลื่อนหลุด บุคลากรมีความสะดวกในการปฏิบัติงาน การขยายผล ใช้เป็นมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยเด็กทุกรายthaมหาวิทยาลัยมหิดลท่อเจาะคอการเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอแนวปฏิบัติผู้ป่วยเด็กโครงการพัฒนาแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่ใส่ท่อเจาะคอ (Tracheostomy tube) เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล