Doungjai BuntupJiraporn Chompikulดวงใจ บรรทัพจิราพร ชมพิกุลMahidol University. ASEAN Institute for Health Development2021-05-122021-05-122021-05-122019Journal of Public Health and Development. Vol.17, No.3 (Sep-Dec 2019), 1-121905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62139Public environment is an important issue for smoking regulation due to the concern of health equity. About 50-60 percent found that public car drivers have risky behavior such as smoking and alcohol drinking which shows that smoking in public transports causes harmful effects to others from exposure to second-hand smoke (SHS). The aim of this present study was to study personal factors, knowledge, attitudes, behaviors and smoking experiences of drivers or passengers and to investigate the correlation between factors and the compliance with the Non-Smoking Health Protection Act B.E. 2535 in drivers and taxi passengers. The data were obtained from self-administered questionnaires responded by 450 taxi drivers and 250 passengers. Statistical analyses were performed for descriptive statistics (demographic data, smoking-related knowledge and attitudes) and Pearson correlation analysis for different factors and smoking behaviors. The results showed that the majority of questionnaire respondents have a sufficient knowledge in law on smoking prohibition and a greater knowledge on harmful effects of smoking. The analysis of factors affecting legal compliance, it is found that attitude to the dangers of smoking was statistically significant (p <0.030) in taxi drivers while smoking behavior of passengers was significantly affected the compliance with the Non- Smoking Health Protection Act (p = 0.001). For further smoking control regulation, the governmental legislation on anti-smoking in public vehicles should be continued. The knowledge of harmful health outcomes associated with smoking should also be promoted to change the attitude toward public smoking.สภาพแวดล้อมสาธารณะเป็นประเด็นสําคัญสําหรับการควบคุมการสูบบุหรี่ เนื่องจากความกังวลต่อผลกระทบด้านสุขภาพ ประมาณ 50-60 เปอร์เซ็นต์ พบว่า ผู้ขับขี่รถยนต์สาธารณะมีพฤติกรรมเสี่ยงเช่น การสูบบุหรี่ และการดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการสูบบุหรี่ในรถขนส่งสาธารณะทําให้เกิดอันตรายต่อผู้อื่นจากการสัมผัสกับควันบุหรี่มือสอง (SHS) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมและ ประสบการณ์การสูบบุหรี่ของผู้ขับรถหรือผู้โดยสาร และหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 ในผู้ขับรถและผู้โดยสารรถแท็กซี่ ข้อมูลที่ได้มาจากการตอบแบบสอบถามโดยคนขับแท็กซี่ 450 คน และผู้โดยสาร 250 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ ความรู้ และทัศนคติเกี่ยวกับการสูบบุหรี่) และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันสําหรับปัจจัยต่าง ๆ และพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความรู้เพียงพอเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการห้ามสูบบุหรี่ และความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการสูบบุหรี่ โดยผลวิเคราะห์ปัจจัยที่ต่อการปฎิบัติตัวตามกฎหมาย พบว่า การมีทัศนคติที่ไม่คํานึงถึงอันตรายที่เกิดจากการสูบบุหรี่มีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.030) ในผู้ที่ขับรถแท็กซี่ในขณะที่การสูบบุหรี่ของผู้โดยสารส่งผลการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.001) สําหรับข้อบังคับควบคุมการสูบบุหรี่ในอนาคตรัฐบาลควรมีการออกกฎหมายเกี่ยวกับการหMามการสูบบุหรี่ในยานพาหนะสาธารณะ ควรส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับผลลัพธ์ด้านอันตรายต่อสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่เพื่อเปลี่ยนทัศนคติการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะengMahidol Universitysecond-hand smokingsmoking ban policyattitudebehaviorpublic carการสูบบุหรี่มือสองนโยบายห้ามสูบบุหรี่ทัศนคติพฤติกรรมรถยนต์สาธารณะFactors affecting compliance with the non-smokers' health protection Act B.E.2535: A Case study of taxi carsปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535: กรณีศึกษารถสาธารณะชนิดรถแท็กซี่Original ArticleASEAN Institute for Health Development Mahidol University