Jirapa ChetsawangSutisa Nudmamud-ThanoiNatcharee KraiwattanapiromVorasith SiripornpanichWeerapon UnharasameeBanthit Chetsawangจิรภา เจตน์สว่างสุทิสา นุดมาหมัด-ถาน้อยณัชชารีย์ ไกรวัฒนภิรมย์วรสิทธิ์ ศิริพรพาณิชย์วีรพล อุณหรัศมีบัณฑิต เจตน์สว่างMahidol University. Institute of Molecular Biosciences. Research Center for Neuroscience2021-05-202021-05-202021-05-202019Journal of Public Health and Development. Vol. 17, No.1 (๋Jan-Apr 2019), 15-291905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62230Methamphetamine (METH) has been found to be one of the leading causes of neurotoxicity in the brain and psychosis. The present study aimed to investigate the interactive effect of METH on capacities for cognition. The higher cognitive functions were determined in METH users with (n = 16) and without psychosis (n = 16) and normal-control subjects (n = 16). The results showed a significant decrease in the scores of Thai Mental State Examination and increase in Brief Psychiatric Rating Scale in METH users with psychotic symptoms compared with control subjects. Completed blood count (CBC) analysis showed a significant decrease in the number of red blood cells, the levels of hemoglobin and mean corpuscular hemoglobin concentration (MCHC) but a significant increase in the number of basophils of METH users without psychotic symptoms compared with control subjects. The levels of low-grade systemic inflammatory biomarker, C-reactive proteins was significantly decreased in METH users with psychotic symptoms compared with control subjects. The higher cognitive functions was investigated using executive function (EF) tests including go/no-go task, one back task, Wisconsin Card Sorting Test and Stroop task. The METH users exhibited poor EF performance compared to controls such as attention, set shifting, working memory and speed of processing. This finding may emphasize that neurocognitive deficits associated with METH abuse may result from some neurodegenerative changes occurred in the brมีข้อบ่งชี้ถึงความเป็นพิษต่อระบบประสาทหรือการก่อให้เกิดความผิดปกติทางจิตของเมทแอมเฟตามีน ดังนั้นการวิจัยนี้จึงมุ่งที่จะศึกษาผลกระทบของการใช้สารเมทแอมเฟตามีนที่มีต่อความสามารถของการรู้คิด โดยการทดสอบหน้าที่การทำงานของสมองที่เกี่ยวข้องกับการรู้คิดขั้นสูงในผู้ใช้สารเมทแอมเฟตามีนที่ไม่มีอาการผิดปกติทางจิต16 คน และที่มีอาการผิดปกติทางจิต 16 คน เปรียเทียบกับกลุ่มคนปกติ 16 คน ผลการทดลองพบว่าผู้ที่เคยใช้สารเสพติดเมทแอมเฟตามีนที่มีอาการผิดปกติทางจิตมีค่าการทดสอบภาวะทางจิตแบบย่อลดลงและมีค่าการทดสอบจิตเวชแบบย่อสูงขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มคนปกติ ผลการตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดพบว่ากลุ่มผู้ใช้สารเสพติดเมทแอมเฟตามีนที่ไม่มีอาการผิดปกติทางจิตมีจำนวนของเม็ดเลือดแดงและระดับของค่าฮีโมโกลบินลดลง แต่มีจำนวนของเม็ดเลือดขาวชนิดเบโซฟิลเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มคนปกติ นอกจากนี้ยังพบว่าระดับของตัวบ่งชี้ภาวะการอักเสบขั้นต่ำ C-reactive proteins ในซีรั่มของกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดเมทแอมเฟตามีนที่มีอาการผิดปกติทางจิตมีค่าลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มคนปกติ ผลจากการวัดการรู้คิดขั้นสูงโดยการทดสอบหน้าที่บริหารจัดการของสมองพบว่ากลุ่มผู้ใช้สารเมทแอมเฟตามีนมีความสามารถในการบริหารจัดการของสมองที่ต่ำกว่ากลุ่มคนปกติ ผลการทดลองอาจเป็นข้อบ่งชี้ว่าความบกพร่องของการรู้คิดที่พบในผู้ใช้สารเมทแอมเฟตามีนน่าจะเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อให้เกิดการเสื่อมสลายของระบบประสาทของเมทแอมเฟตามีนengMahidol Universitymethamphetaminecognitive impairmentneurodegenerationexecutive functionเมทแอมเฟตามีนความบกพร่องของการรู้คิดการเสื่อมสลายของระบบประสาทหน้าที่บริหารจัดการของสมองThe effect of methamphetamine-induced neurodegeneration and psychiatric disorders on cognitive impairment in methamphetamine abusers in Thailandการเสื่อมสลายของระบบประสาทและอาการผิดปกติทางจิตจากเมทแอมเฟตามีนที่มีผลต่อความบกพร่องทางการรู้คิดในผู้ใช้สารเมทแอมเฟตามีนในประเทศไทยOriginal ArticleResearch Center for Neuroscience Institute of Molecular Biosciences Mahidol University