ดุษณี ดำมีเกรียงศักดิ์ ซื่อเลื่อมปราณี สุทธิสุคนธ์มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน2017-06-132017-06-132017-06-132552วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 7, ฉบับที่ 1 (2552), 121-126https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2023ภาวะวิกฤติของครอบครัวไทย เกิดขึ้นจากปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาโครงสร้างสังคม ได้แก่ วิกฤติเศรษฐกิจ ความยากจน การตกงาน ส่งผลต่ออัตราการว่างงานของคนไทยอยู่ที่ 4.5 แสนคน หรือร้อยละ 1.5 (ตุลาคม 2551) การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ พบผู้ป่วยสะสมในประเทศไทย ระหว่างปี 2527-2551 จำนวน 334,701 ราย ปัญหาการเสพยาเสพติดในสถานศึกษาของเด็กปี 2551 ที่พบถึง ร้อยละ 13 ส่วนปัญหาครอบครัวและตัวบุคคล ได้แก่ การใช้ความรุนแรงในครอบครัว มีผู้หญิงสูงถึงร้อยละ 80 และเด็กร้อยละ 31 ถูกทำร้ายจากคนในครอบครัว ส่งผลให้เกิด ปัญหาการหย่าร้าง เด็กและเยาวชนอายุ 11-22 ปี เกือบ 1.6 ล้านคนที่อยู่ในภาวะด้อยสัมพันธภาพ แม่วัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 19 ปี ตั้งครรภ์ไม่พร้อมมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประมาณ 10% จากปี 2550- 2551 ส่วนเด็กและผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งไม่ได้รับความดูแลเอาใจใส่จากคนในครอบครัว ซึ่งในปี 2548 มีผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งประมาณปีละ 2,804 คน จากปัญหาที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เมื่อครอบครัวไม่สามารถแก้ปัญหาเหล่านั้นได้ แนวทางสำคัญ ก็คือ การสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันครอบครัว ที่จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือกันของทุกภาคส่วน ทั้งระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับชาติthaมหาวิทยาลัยมหิดลภาวะวิกฤติปัญหาครอบครัวOpen Access articleJournal of Public Health and DevelopmentวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาครอบครัวคนไทยทบทวนปัญหาของครอบครัวคนไทยArticleสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล