Rachanee UdomsangpetchClayson, Edward T.Tongtavuch AnukarahanontaVina ChurdboonchartYaowapa Maneerat2023-09-112023-09-11199419942023Thesis (Ph.D. (Pathobiology))--Mahidol University, 1994https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89674To determine whether laboratory rats are susceptible to infection with the hepatitis E virus (HEV), Wistar rats were inoculated intravenously with human feces containing HEV. At 0 (preinoculation), 4, 7,11,14, 18, 21, 25, 28, and 35 days post inoculation (dpi), 3 animals each were euthanized and necropsied. Stool and sera specimens taken at necropsy were examined by PCR for the detection of HEV RNA. Tissues collected at necropsy were examine by light microscopy for detection of histopathological changes and by direct immunofluorescence for detection of viral antigens. Sera were also examined by ELISA for the presence of HEV-specific antibodies. HEV RNA was detected in stool at 7 dpi and in serum intermittently between 4-35 dpi. HEV antigens were detected in liver, peripheral blood mononuclear cells, spleen, mesenteric lymphnode and small intestine intermittently between 4-35 dpi. Histopathologic lesions attributable to HEV infection were detected in liver, spleen and lymphnode. Inoculated rats developed mild hepatitis similar to the hepatitis observed in non-human primates and pigs in previous studies. HEV-specific antibodies were not detected by this ELISA. The results suggest that Wistar rats are susceptible to infection with HEV.จุดประสงค์ของการศึกษาคือต้องการทดสอบว่าหนูขาว พันธุ์วิสตาร์สามารถรับการติดเชื้อและแสดงอาการของโรค หรือไม่ในการศึกษานี้หนูขาว 27 ตัวได้รับเชื้อไวรัส ตับอักเสบชนิดอีจากอุจจาระผู้ป่วยโดยฉีดเข้าทางเส้นเลือดดำที่หางหนู หนูกลุ่มควบคุมคือหนูปกติที่ไม่ได้รับการ ฉีดเชื้อหนู 3 ตัวถูกวางยาสลบและผ่าซากเพื่อทำการ เก็บเลือด, อุจจาระและชิ้นเนื้อจากอวัยวะต่าง ๆ ในวันที่ 0 (หนูกลุ่มควบคุม) ,4,7,11,14,18,21,25,28 และ 35 หลังจากได้รับการฉีดเชื้อ การตรวจสอบการติดเชื้อตับอักเสบชนิดอีในหนูทำโดย การตรวจหายีโนมของไวรัสในอุจจาระและซีรั่มของหนูโดยวิธี reverse transcription polymerase chain reaction, ตรวจหาแอนติเจนของเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดอีในเนื้อเยื่อต่าง ๆ ด้วยวิธี direct immunofluorescence, ตรวจหาแอนติบอดี้ต่อเชื้อไวรัสนี้โดยวิธี ELISA และทำการตรวจ พยาธิสภาพในเนื้อเยื่อต่าง ๆ ที่ย้อมด้วยสี hematoxylin และ eosin โดยกล้องจุลทรรศน์ ผลการตรวจพบยีโนมของเชื้อนี้ในอุจจาระ 7 วัน หลังจากได้รับเชื้อและพบในซีรั่มของหนูบางตัวระหว่าง 4-35 วันหลังจากได้รับเชื้อ, ตรวจพบแอนติเจนของเชื้อ นี้ในตับ, ม้าม, ต่อมน้ำเหลือง, ลำใส้เล็กและเม็ดเลือด ขาวในระหว่างวันที่ 4-35 วันหลังจากได้รับเชื้อและ พบพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อตับ, ม้ามและต่อมน้ำเหลือง โดยไม่พบการเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่ออื่น ๆ นอกจากนี้ พยาธิสภาพของตับอักเสบในหนูวิสตาร์มีลักษณะคล้ายกลับ พยาธิสภาพของตับอักเสบในลิงและหมูที่ได้รับเชื้อไวรัส ตับอักเสบชนิดอีในการศึกษาของผู้วิจัยอื่นจึงสรุปได้ว่า หนูวิสตาร์สามารถรับเชื้อและเกิดโรคไวรัสตับอักเสบได้ แม้ว่าไม่สามารถตรวจหาแอนติบอดี้จำเพาะต่อเชื้อไวรัส ตับอักเสบชนิดอีโดย ELISA ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้xii, 114 leaves : ill. (some col.)application/pdfengHepatitis E -- VeterinaryHepatitis E virusResponses of wistar rat to experimental inoculation with hepatitis E virus (HEV)การศึกษาไวรัสตับอักเสบชนิดอีในหนูวิสตาร์Mahidol University