Smitti Darakorn Na AyuthayaSupaporn KiattisinRatcharin Uao-Ariya2024-01-022024-01-02201820182024https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91604Information Technology Management (Mahidol University 2018)This research aimed to study the behavior of using Promptpay and attitudes about Promptpay including system satisfaction to analyze and propose ways for the public to pay more attention to the system in the future. Samples of 467 social media users in Thailand were involved in the study. A questionnaire was broadly distributed through social media i.e. Line, Facebook, Twitter, and etc. Data were collected, summarized, and analyzed. The results of the research showed that most of the respondents were aware of Promptpay, but they have not registered because they did not find the need to use it. About Promptpay public relations, social media and television media were the most seen media of the respondents. Using banks, making transactions, and using social media did not directly affect the perceptions and registrations of Promptpay. The users' satisfactions and attitudes about Promptpay was at a "Good" level, and the system was more likely to be used in the future. The respondents were quite concerned about transaction tracking and being taxed through Promptpay. So, the concerned organizations should widely spread the correct information of using Promptpay to the public and ensure people about the quality and safety of the system. Moreover, it is necessary to promote the usage of Promptpay among people in their daily lives.การวิจัยเรื่อง "ทัศนคติของผู้ใช้งานโซเชียลมีเดียในประเทศไทยที่มีต่อระบบพร้อมเพย์" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้งานและทัศนคติหรือความคิดเห็นรวมถึงความพึงพอใจในระบบพร้อมเพย์ เพื่อวิเคราะห์และเสนอแนวทางให้ประชาชนทั่วไปสนใจใช้งานระบบพร้อมเพย์มากขึ้นในอนาคต วิธีการทำงานวิจัยได้แก่ สุ่มตัวอย่างผู้ที่ใช้งานโซเชียลมีเดียในประเทศไทยจำนวน 467 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยทา ขึ้นจำนวน 1 ชุด โดยได้ทำการกระจายแบบสอบถามผ่านโซเชียลมีเดียต่าง ๆ เช่น Line, Facebook, Twitter ฯลฯ จากนั้น นำมารวบรวมสรุปผลและวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่รู้จักระบบพร้อมเพย์ แต่ไม่ได้ลงทะเบียนพร้อมเพย์ เนื่องจากไม่มีความจำเป็นต้องใช้งาน ผู้ตอบแบบสอบถามรู้จักระบบพร้อมเพย์ผ่านทางโซเชียลมีเดียและสื่อโทรทัศน์มากที่สุด ธนาคารที่ใช้บริการ ธุรกรรมที่ทำและโซเชียลมีเดียที่ใช้งานไม่มีผลต่อการรับรู้และลงทะเบียนพร้อมเพย์ โดยผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในระบบพร้อมเพย์อยู่ในระดับดีและมีแนวโน้มจะใช้งานมากขึ้นในอนาคต สิ่งที่ผู้ตอบแบบสอบถามกังวลคือการถูกติดตามการทำธุรกรรมและการถูกเก็บภาษีผ่านพร้อมเพย์ ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างความ มั่นใจให้กับประชาชนในคุณภาพและความปลอดภัยระบบพร้อมเพย์ และนอกเหนือจากนั้นควรส่งเสริมการใช้งานระบบพร้อมเพย์ในชีวิตประจำวันของประชาชนด้วยxii, 154 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าPromptpayConsumers -- AttitudesAttitudes of social media users in Thailand towards "Promptpay"ทัศนคติของผู้ใช้งานโซเชียลมีเดียในประเทศไทยที่มีต่อระบบพร้อมเพย์Master ThesisMahidol University