Somsri PitukkijronnakornPanyu Panburanaสมศรี พิทักษ์กิจรณกรพัญญู พันธ์บูรณะMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Obstetrics and Gynecology2022-09-232022-09-232022-09-232015Ramathibodi Medical Journal. Vol. 38, No. 3 (Jul-Sep 2015), 233-2390125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79642We reported case series of placenta accreta management from 2003 to June 2013. All cases had pathologically proven diagnosis and delivered in Ramathibodi hospital. There were 13 cases of placenta accreta during study period. All cases had previous cesarean section. The prenatal diagnosis of placenta accreta were 6 cases (46.15%) while intraoperative were 7 cases (53.85%). Postpartum hemorrhage in prenatal and intraoperative diagnosis groups were 1,200-6,000 ml and 4,000-20,000 ml respectively. Every cases ended up with hysterectomy. Almost prenatal diagnosis group had elective surgery. The last 2 cases in prenatal diagnosis group have done by multidisciplinary team and uterine arteries embolization (UAE) with a good outcome. Prenatal diagnosis of placenta accreta is essential for the management. Pre-operative planning approach by the multidisciplinary team is very helpful. UAE is the good option for management especially in prenatal diagnosis group.บทความนี้รายงานวิธีการดูแลต่างๆ ของภาวะรกเกาะฝังแน่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 ซึ่งทุกรายได้รับการยืนยันวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาและคลอดในโรงพยาบาลรามาธิบดี พบว่ามีจำนวนทั้งหมด 13 ราย และทุกคนเคยได้รับการผ่าคลอดและมีภาวะรกเกาะต่ำ พบว่ามีการวินิจฉัยภาวะรกยังแน่นได้ก่อนคลอดจำนวน 6 ราย (ร้อยละ 46.15) วินิจฉัยระหว่างผ่าตัดจำนวน 7 ราย (ร้อยละ 53.85) ภาวะตกเลือดหลังคลอดในกลุ่มที่วินิจฉัยก่อนและหลังผ่าตัด คือ 1,200 - 1,600 มิลลิลิตร และ 4,000 - 20,000 มิลลิลิตร ตามลำดับ ผู้ป่วยทุกรายได้รับการตัดมดลูก ส่วนใหญ่ของกลุ่มที่วินิจฉัยก่อนคลอดได้รับการผ่าตัดโดยมีการวางแผนผ่าตัดล่วงหน้า ไม่ใช่การผ่าตัดฉุกเฉิน โดยที่ 2 รายสุดท้ายในกลุ่มนี้ได้รับการดูแลจากกลุ่มแพทย์สหสาขาด้วยการฉีดสารอุดกั้นเส้นเลือดแดงที่มาเลี้ยงมดลูกและได้รับผลการรักษาที่ดี การวินิจฉัยภาวะรกเกาะฝังแน่นก่อนคลอด ถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดูแลและรักษา การวางแผนการรักษาก่อนผ่าตัดโดยกลุ่มแพทย์สหสาขา มีประโยชน์มาก การฉีดสารอุดกั้นเส้นเลือดแดงที่มาเลี้ยงมดลูกเป็นทางเลือกที่ดีในการดูแลผู้ป่วยโดยเฉพาะกลุ่มวินิจฉัยภาวะรกเกาะฝังแน่นก่อนคลอดengMahidol UniversityPlacenta accretaPostpartum hemorrhageUterine arteries embolizationCase Series Management in Placenta Accretaรายงานการดูแลภาวะรกเกาะฝังแน่นCase StudyDepartment of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University,