ชิตชยางค์ ยมาภัยJitjayang Yamabhaiมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย. สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท2020-05-202020-05-2025632556วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 32, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2556), 31-46https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55423บทความเชิงสังเคราะห์นี้ บรรยายถึงโลกแห่งชีวิตของชาวละว้าที่เกิดขึ้นบนถิ่นฐาน 2 แห่ง คือ บนดอยและในเมืองเชียงใหม่ ผู้เขียนใช้วิธีการสังเคราะห์เอกสารตามแนวทางอภิชาติพันธุ์วรรณา เพื่อสร้างข้อสรุปใหม่ จากงานวิชาการ 2 เรื่อง ผู้เขียนเสนอข้อถกเถียงว่าโลกแห่งชีวิตของชาวละว้าได้รับอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงสู่ลักษณะทางสังคมแบบ “ทันสมัยมาก” ชาวละว้าจึงจำเป็นจะต้องดำรงชีวิตอยู่ในทวิวิถี คือ สังคมประเพณีด้วยวิถีชีวิตแบบยังชีพ กับสังคมทันสมัย อันหมายถึง การทำให้สิ่งต่างๆ กลายเป็นสินค้า ระบบทุนนิยมและกลไกการตลาด ที่ได้คืบคลานเข้าครอบคลุมถิ่นฐานบนดอย จนชาวละว้ามิอาจปฏิเสธวิถีดังกล่าวได้ ผลของการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมทันสมัยทำให้ชาวละว้าตกอยู่ในสภาพปรากฏ คือ พอใจ จำใจ และจนใจ แตกต่างกันไปตามความพอประมาณในการดำเนินชีวิตประจำวันThis synthetic paper describes the lifeworld of Lawa ethnic group living in the high mountains and in the city of Chiang Mai. Using a meta-ethnography approach to synthesize two academic works, I argue that lifeworld of Lawa people is influenced by a social transformation brought about by modernization. Hence, Lawa’s mode of life falls in-between a subsistence economy and a market economy that have spread to Lawa’s environment. This transformation by modernization has affected the Lawa way of life in three aspects: satisfaction, survival and suffering which vary by the degree of moderation in daily life practice.thaมหาวิทยาลัยมหิดลละว้าโลกแห่งชีวิตการเปลี่ยนแปลงทางสังคมLawalifeworldsocial transformationวารสารภาษาและวัฒนธรรมJournal of Language and Cultureหนึ่งชาติพันธุ์ สองถิ่นฐาน สามสภาพปรากฏ: โลกแห่งชีวิตของชาวละว้า (ละเวือะ) ณ จังหวัดเชียงใหม่One ethnic group, two locales, and three presences: Lifeworld of Lawa in Chiang Mai provinceArticleสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล