Nguyen Quynh Chamอรพรรณ โตสิงห์Orapan Thosinghaวัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์Wallada Chanruangvanichมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์2019-06-132019-06-132019-06-132017Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.1), No. 3 (July - September 2017), 31-38https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44084Purpose: To investigate the relationships between age, physiological deterioration, co-morbidity and emergency room discharge destination among patients with trauma. Design: Descriptive correlation design. Methods: The sample composed of 300 patients with traumatic injuries in emergency department, Bach Mai Hospital in Hanoi, Vietnam. Data were collected from the patient’s hospital chart. Spearman’s Rho was employed to test the relationships among studies variables. Main findings: Approximately 60% of patients with traumatic injuries (59.7%) were admitted in hospital, while 35.4% received surgery and/or admitted to intensive care unit. About 40.3% received treatment and were discharged from emergency department to home. Physiological deterioration as measured by Modified Early Warning Score, age, and co-morbidity were positively correlated with emergency room discharge destination (rs = .38, rs = .14, rs = .16, p < .05). Conclusion and recommendations: Modified Early Warning Score should be used to classify trauma injuries patients on their arrival at the emergency department. Hence, the patients can receive appropriate treatment at the right time. Co-morbid diseases should be routinely assessed in all trauma injuries patients on arrival at the emergency room.วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง อายุ การเปลี่ยนแปลงทางสรีระ และโรคร่วมกับปลายทางการจำหน่ายจากห้องฉุกเฉินของผู้ป่วยบาดเจ็บ รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้ป่วยบาดเจ็บจำนวน 300 คน ที่เข้ารับการรักษา ณ ห้องฉุกเฉิน ของโรงพยาบาล บัคมาย กรุง ฮานอย ประเทศเวียดนาม โดยเก็บข้อมูลจากเวชระเบียนของผู้ป่วย วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการใช้สถิติ Spearman’s Rho ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 59.7 ได้รับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ในจำนวนนี้ร้อยละ 35.4 ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดและรับการรักษาตัวในหอผู้ป่วยหนัก ผู้ป่วยร้อยละ 40.3 ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกและได้รับการจำหน่ายกลับบ้าน การเปลี่ยนแปลงทางสรีระซึ่งประเมินโดย Modified Early Warning Score (MEWS) อายุของผู้ป่วย และการมีโรคร่วม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับปลายทางการจำหน่ายจากห้องฉุกเฉิน (rs= .38, rs = .14, rs = .16, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผู้ป่วยบาดเจ็บฉุกเฉินทุกคนควรได้รับการประเมินภาวะการเปลี่ยนแปลงทางสรีระด้วย Modified Early Warning Score และได้รับการประเมินโรคร่วม เมื่อมาถึงห้องฉุกเฉิน เพื่อใช้ในการตัดสินใจในการรักษาที่ถูกต้องภายในเวลาที่เหมาะสมengMahidol UniversitytraumaModified Early Warning Scorephysiology deteriorationco-morbidityemergency room discharge destinationการบาดเจ็บคะแนน MEWSการเปลี่ยนแปลงทางสรีระโรคร่วมปลายทางการจำหน่ายผู้ป่วยจากห้องฉุกเฉินJournal of Nursing Scienceวารสารพยาบาลศาสตร์Factors related to Emergency Room Discharge Destination among Patients with Traumaปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปลายทางการจำหน่ายจากห้องฉุกเฉินของผู้ป่วยบาดเจ็บArticleคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล