ณัฐธิดา จักษุรักษ์ เอี่ยมประไพมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์2018-03-072018-03-072561-032551The Journal. ปีที่ 4, ฉบับที่ 1 (2551), 43-74https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/9934บทความเรื่องอกรรมกริยาในภาษาเอเชียอาคเนย์นี้เป็นการนำสมมุติฐานการแบ่ง ประเภทอกรรมกริยา ของนักภาษาศาสตร์ชาวอเมริกัน เดวิด เพิร์ลมัตเทอร์ มาวิเคราะห์ ภาษาพม่า ภาษามาเลย์ ภาษาเวียดนาม ภาษาม้ง และภาษาไทย ซึ่งเป็นภาษาจากตระกูล ต่างๆ ในเอเชียอาคเนย์ทั้ง 5 ตระกูลภาษา โดยใช้หลักเกณฑ์ทางวากยสัมพันธ์ 4 หลักเกณฑ์ คือ โครงสร้างประโยคการีต โครงสร้างประโยคกรรมวาจก โครงสร้างประโยค แสดงผล และโครงสร้างประโยคแบบสลับตำแหน่งประธานและคำบอกสถานที่ เพื่อศึกษา ความเป็นสากลของสมมุติฐานดังกล่าวและลักษณะร่วมของภาษาเอเชียอาคเนย์ ผล การศึกษาพบว่าอกรรมกริยาในภาษาเอเชียอาคเนย์ไม่มีการแบ่งประเภท สมมุติฐานการ แบ่งประเภทของอกรรมกริยานี้จึงยังไม่สามารถนำมาวิเคราะห์อกรรมกริยาในภาษาเอเชีย อาคเนย์ได้ ซึ่งอาจเป็นเพราะภาษาเอเชียอาคเนย์นี้มีลักษณะประจำเขต ซึ่งทำให้โครงสร้าง ภาษาแตกต่างจากภาษาตะวันตกและภาษาอื่นๆ ในโลกIn this article, the unaccusative hypothesis suggested by Perlmutter is proved against 5 languages from 5 language families of Southeast Asia, namely Burmese, Malay, Vietnamese, Hmong and Thai under causative construction, passive construction, resultative construction, and locative inversion construction. The unaccusative hypothesis postulates that intransitives are divided into 2 classes, unaccusative and unergative. However, the study reveals that the hypothesis does not hold for the five Southeast Asian languages. This may be due to the fact that Southeast Asian languages share some areal features that differentiate them from other languages of the world.thaมหาวิทยาลัยมหิดลอกรรมกริยาภาษาเอเชียอาคเนย์คำกริยาThe Journalอกรรมกริยาในภาษาเอเชียอาคเนย์Articleคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล