Sumittra SuraratdechaNatthapong ChanyooPichaporn Puntularb2024-01-112024-01-11201720242017Thesis (M.A. (Language and Culture for Communication and Development))--Mahidol University, 2017https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92331Language and Culture for Communication and Development (Mahidol University 2017)This study aimed to investigate the level of willingness to communicate in English among undergraduate students and to examine the psychosocial factors (gender, communication apprehension, self-perceived communication competence, motivation, personality, and content and familiarity) that affect their willingness to communicate in English. A mixed method was used in this study. The participants comprised of 450 fourth year undergraduate students majoring in the fields associated with AEC professions mobility including medical and dental services, nursing, accounting, surveying, engineering, architecture, and tourism. The research instruments employed were a questionnaire and a focused group interview. The findings revealed that undergraduate students in Bangkok are willing to communicate in English language at a moderate level. They seemed to have a higher level of willingness to communicate in English with friends rather than strangers and acquaintances, which was consistent with the focused group interview. The selfperceived communication competence and motivation factors correlated significantly with the willingness to communicate in English at p = 0.01 and p = 0.05 levels, respectively. The results from this study revealed factors which affect Thai students' willingness to communicate in English and would help educators to develop more effective ways in teaching English speaking skills.การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความเต็มใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในกรุงเทพมหานคร และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (เพศ , ความวิตกกังวลในการสื่อสาร, การรับรู้ความสามารถในการสื่อสาร, แรงจูงใจ, บุคลิกภาพ, และ เนื้อหาและความคุ้นเคย) ที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ศึกษาคือนักศึกษาชั้นปีที่สี่จำนวน 450 คน และต้องเป็นนักศึกษาที่กำลังเรียนในกลุ่มสาขาอาชีพ เคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในอาเซียน ได้แก่ แพทย์, ทันตแพทย์, พยาบาล, นักบัญชี, นักสำรวจ, วิศวกร, สถาปนิก, และการท่องเที่ยว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผลจาก การวิจัยพบว่าระดับความเต็มใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง นักศึกษามีระดับความเต็มใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษค่อนข้างสูงเมื่อสนทนากับเพื่อนมากกว่า สนทนากับคนแปลกหน้าและคนที่เพิ่งรู้จักซึ่งสอดคล้องกับผลการสัมภาษณ์แบบกลุ่ม ปัจจัยการรับรู้ ความสามารถในการสื่อสารและแรงจูงใจมีความสัมพันธ์กับความเต็มใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p = 0.01 และ p = 0.05 ตามลำดับ ผลจากงานวิจัยนี้ทำให้รู้ถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความเต็มใจในการสื่อสารของนักศึกษาและยังสามารถช่วยนักการศึกษาในการพัฒนาการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษที่มีประสิทธิภาพxi, 127 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าCommunicative competenceInterpersonal CommunicationMotivation (Psychology)Willingness to communicate in English among undergraduate students in Bangkokความเต็มใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในกรุงเทพมหานครMaster ThesisMahidol University