Asawin SinsarpTanakorn OsotchanPreeyanuch SangtrirutnugulWorapat Inprasit2024-02-072024-02-07201420142014Thesis (M.Sc. (Materials Science and engineering))--Mahidol University, 2014https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95283Materials Science and engineering (Mahidol University 2014)In this study, Fe-Ni alloy thin films are prepared by electrodeposition under diverse conditions, which include varying amounts of iron and nickel ions in electrolytes; varying amounts of additives in electrolytes; applying an external magnetic field during preparation; and measuring the types of in-situ monitoring electrochemical cells for investigating the deposition of Fe-Ni alloy thin films. In addition, the crystal structure of Fe-Ni alloy thin films are identified by x-ray diffraction analyses, showing a mixture of body-centered cubic (BCC) and face-centered cubic (FCC) structures. Flame atomic absorption spectroscopy (FAAS) and X-ray absorption spectroscopy (XAS) are used to investigate the amounts of Fe-Ni metal in alloy thin films. The deposition rates of Fe-Ni alloy thin films are shown in the Fourier component of iron and nickel ions, which is measured by time-resolved x-ray absorption spectroscopy. These results are confirmed through the static XAS results in which the oxidation states of iron and nickel are zero. Saccharin, an additive, can increase the iron crystallinity in Fe-Ni thin films. In the presence of an applied magnetic field, a decrease of the iron BCC-phase is observed whereas in the nickel FCC phase the alloy thin films were not significantly affected. Using FAAS measurements, the ratios of iron and nickel atoms in thin films are different from those ratios in the electrolytes and there were higher deposits of iron ions than those of nickel ions.งานวิจัยนี้ได้ศึกษาฟิล์มบางโลหะผสมเหล็ก-นิกเกิลบนกระจกเคลือบด้วยอินเดียมดีบุกออกไซด์ โดยเตรียมด้วยการชุบไฟฟ้าในสภาวะต่าง ๆ โลหะผสมได้จากการเตรียมอิเล็กโทรไลต์ที่มีส่วนผสมของสารละลายเหล็กและนิกเกิลในอัตราส่วนต่าง ๆ ได้เติมสารเติมแต่งลงไปในสารละลาย ได้เพิ่มสนามแม่เหล็กจากภายนอกขณะชุบไฟฟ้า และยังได้ศึกษาการก่อตัวของโลหะผสมเหล็กนิกเกิล โครงสร้างผลึกของฟิล์มบางโลหะผสมได้ถูกวิเคราะห์จากการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ ได้ใช้เครื่องมือวัดการดูดกลืนแสงของอะตอมจากเปลวไฟของสารเพื่อทำการวิเคราะห์ปริมาณของเหล็กและนิกเกิลในโลหะผสม โดยผลการทดลองได้นำไปเปรียบเทียบกับผลการวัดการดูดกลืนรังสีเอ็กซ์ ซึ่งผลของการดูดกลืนของรังสีเอ็กซ์จะสามารถบอกถึงเลขออกซิเดชันและจำนวนอะตอมที่อยู่ใกล้เคียงได้ นอกจากนี้การก่อตัวและเลขออกซิเดชันได้มีการศึกษาจากผลการวัดการดูดกลืนของรังสีเอ็กซ์แบบติดตามเวลาขณะชุบด้วยไฟฟ้า อีกด้วย ซึ่งจากการวิเคราะห์ข้อมูลได้นำไปเปรียบเทียบจากการคำนวณ พบว่า ผลของการศึกษาการวัดการดูดกลืนของรังสีเอ็กซ์ยืนยันได้ว่าสารละลายเหล็กและนิกเกิลมีเลขออกซิเดชันคือ +2 และเปลี่ยนเป็น 0 เมื่อผ่านกระบวนการชุบด้วยไฟฟ้า โครงสร้างที่ได้จะเป็นโครงสร้างผสมของ BCC และ FCC โดยเหล็กจะจับกันเป็นโครงสร้าง BCC และนิกเกิลจะจับตัวกันเป็น FCC และมีบางส่วนที่แทรกตัวอยู่รวมกัน ซึ่งยืนยันตรงกันจากการวิเคราะห์ด้วยการเลี้ยวเบนและการดูดกลืนของรังสีเอ็กซ์ สนามแม่เหล็กภายนอกจะมีผลต่อการชุปในสารละลายที่มีเหล็กเท่านั้น โดยเมื่อใส่สนามแม่เหล็กไว้ที่ขั้วลบจะส่งผลให้เกิดฟิล์มที่มีโครงร่างผลึกแบบ BCC น้อยลง และผลจากการดูดกลืนแสงของอะตอมจากเปลวไฟของสารที่ถูกเผาพบว่าสามารถวิเคราะห์ได้ยากเนื่องจากมีการเจือปนของอะตอมเหล็กแล้วนิกเกิลจากภายนอกxvi, 123 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าIron-nickel alloys.Thin filmsElectroplating.Iron-Nickel alloy thin films prepared by electrodeposition on indium tin oxide coated glassesฟิล์มบางโลหะผสมเหล็ก-นิกเกิลบนกระจกเคลือบอินเดียมดีบุกออกไซด์เตรียมด้วยการชุบด้วยไฟฟ้าMaster ThesisMahidol University