Somchai TrakarnrungNarutt SuttachittRegister, DenaNichara RuangdaraganonNatee Chiengchana2023-09-082023-09-08201320132023Thesis (Ph.D. (Music))--Mahidol University, 2013https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89540The purpose of this study was to examine the social communication responses and music learning of individuals with autism spectrum disorders (ASD) during Kodaly-based music experiences. The A-B-C-B and qualitative single-case designs were employed to investigate the effectiveness of Kodaly-based music experiences on social communication responses of three children, ranging from 7.8 to 11.5 years of age, with autism who had diagnosed social communication problems. The experimental sessions consisted of baseline condition (A), group intervention (B), and individual intervention session (C). The SCERTS assessment process (SAP) and qualitative protocols were used to measure social communication responses and music learning. The findings were presented using visual inspection and narrative case study. During baseline sessions, participants rarely engaged in social communication with others. Their behaviors were stable during the first three sessions. In the course of the music intervention, they responded positively to the intervention. Frequencies of social communication behaviors increased continuously from the first group intervention sessions until the second group intervention sessions. In terms of music learning, the participants showed more abilities in music skills, including singing, reading notation, movement and playing instruments. Results indicated that Kodaly-based music experiences enhanced social communication responses and music learning of the children in this study.การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของประสบการณ์ทางดนตรีตามแนวคิดวิธีการสอน ดนตรี ของโคดายที่มีต่อการตอบสนองในการสื่อสารทางสังคมของเด็กออทิสซึม โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย กรณีศึกษากรณีเดียว โดยผสมผสานการวิจัยแบบ A-B-C-B single-case design กับ qualitative single-case design กรณีศึกษา ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เด็กออทิสซึม จํานวน 3 คน อายุระหว่าง 7.8 - 11.5 ปี ทีมีปัญหาด้านการสื่อสารทางสังคม แผนการทดลองแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ การสังเกตในระยะ Baseline (A) การให้กิจกรรมดนตรีแบบกลุ่ม (B) และการให้กิจกรรมดนตรีเป็นรายบุคคล (C) โดยกรณีศึกษา แต่ละคนเข้าร่วมในการทดลองตามแผนการทดลอง A-B-C-B เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินการตอบสนอง ในการสื่อสารทางสังคม SCERTSและเครื่องมือสําหรับเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล นําเสนอเป็นกราฟเส้นแสดงพัฒนาการของพฤติกรรม และการบรรยายเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า ในการสังเกตระยะ Baseline ผู้เข้าร่วมมีการตอบสนองต่อการสื่อสารทาง สังคมในระดับต่ำ เมื่อผู้เข้าร่วมได้รับกิจกรรมดนตรีบําบัดการตอบสนองต่อการสื่อสารทางสังคมค่อย ๆ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดการให้กิจกรรมดนตรีบําบัดแบบกลุ่ม แบบรายบุคคล และการให้กิจกรรมดนตรีบําบัดแบบกลุ่มเป็นครั้งนี้ที่สองผลการวิจัยด้านการเรียนรู้ทางดนตรี พบว่า ผู้เข้าร่วมมีความสามารถทางทักษะดนตรีหลายด้าน เช่น การร้องเพลง การอ่านโน้ต การเคลื่อนไหว และการเล่นเครื่องดนตรี ผลการวิจัยสรุปได้ว่ากิจกรรมดนตรี ตามแนวคิดวิธีการสอนของโคดายมีผลต่อการส่งเสริมการตอบสนองในการสื่อสารทางสังคมของเด็กออทิสซึมix, 163 leaves : ill.application/pdfengMusic therapy -- Instruction and studyChildren with disabilities -- Education -- MusicAutismExamining the effects of Kodaly-based music experiences on social communication responses and music learning for children with autism spectrum disordersการศึกษาผลของประสบการณ์ทางดนตรีโดยใช้แนวคิดของโคดายที่มีต่อการตอบสนองในการสื่อสารทางสังคมและการเรียนรู้ทางดนตรีของเด็กออทิสซึมMahidol University