Pornphan WibulpolprasertSasiprapa RongthongSith PhongkitkarunPanas Chalermsanyakornพรพรรณ วิบุลผลประเสริฐศศิประภา รงค์ทองสิทธิ์ พงษ์กิจการุณพนัส เฉลิมแสนยากรMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Diagnostic and Therapeutic RadiologyMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Pathology2022-09-152022-09-152022-09-152018Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 3 (Jul-Sep 2018), 1-120125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79538Background: Multiparametric magnetic resonance imaging (mp-MRI) has emerged as the best noninvasive imaging modality for prostate cancer detection, grading, staging, and targeted biopsy guidance. Validate performance of mp-MRI for peripheral zone prostate cancer detection is important for clinical implication. Objective: To determine the accuracy of T2-weighted (T2W) imaging, diffusion-weighted imaging (DWI), three dimensional (3D) magnetic resonance spectroscopic (MRS) and dynamic contrast-enhanced imaging (DCE) in peripheral zone prostate cancer detection. Methods: The retrospective study included 38 patients who has undergone pre-operative endorectal MRI from March 2006, to March 2010. The correlation of T2W, DWI, MRS and DCE in differentiation between tumor and non-tumor areas were analyzed by using Pearson's chi-square test or Fisher’s exact test. The receiver operating characteristic (ROC) analysis was use to evaluate the distinguishing ability of T2W, DWI, MRS, DCE, and the combinations in tumor detection. Results: In 76 lesions from 38 patients, the area under the ROC curve (AUC) for tumor detection was 0.86 (T2W), 0.86 (DWI), 0.95 (MRS), and 0.61 (DCE). Combination of T2W+DWI, T2W+MRS, T2W+DCE achieved an AUC of 0.86, 0.92, and 0.80, respectively. There is no statistically significant difference in AUC between combination of T2W+DWI (0.86), and combination of T2W+DWI+DCE (0.82), T2W+DWI+MRS (0.81), or T2W+DWI+MRS+DCE (0.78). Conclusions: DWI is the most useful complementary sequence to conventional anatomical T2W imaging for prostate cancer foci identification. The 3D-MRS and DCE images may be use as confirmation tools in peripheral zone prostate cancer detection.บทนำ: พารามิเตอร์ต่างๆ ที่ได้จากการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Multiparametric magnetic resonance imaging, mp-MRI) ซึ่งเป็นการตรวจที่ไม่รุกล้ำร่างกายผู้ป่วยที่ดีที่สุดสำหรับการตรวจ การประเมินความรุนแรง การประเมินระยะของโรค และการระบุตำแหน่งสำหรับการเจาะพิสูจน์ชิ้นเนื้อของโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก การตรวจสอบความถูกต้องแม่นยำของพารามิเตอร์ต่างๆ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในทางคลินิก วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความถูกต้องแม่นยำของพารามิเตอร์ต่างๆ ที่ได้จากการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ได้แก่ T2-weighted imaging (T2W), Diffusion-weighted imaging (DWI), 3D spectroscopic (3D-MRS) และ Dynamic contrast-enhanced (DCE) ในการวินิจฉัยโรคมะเร็งต่อมลูกหมากบริเวณชั้นนอก (Peripheral zone) วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังในกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคมะเร็งต่อมลูกหมากบริเวณชั้นนอก จำนวน 38 คน ที่ได้รับการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก่อนการผ่าตัด ระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 โดยประเมินความสามารถของพารามิเตอร์ดังกล่าวในการแยกความต่างบริเวณที่เป็นมะเร็งกับบริเวณที่ไม่เป็นมะเร็ง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ Pearson’s chi-square test และ Fisher’s exact test และใช้การวิเคราะห์ Receiver operating characteristic (ROC) เพื่อประเมินความถูกต้องแม่นยำในการวินิจฉัยโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ผลการศึกษา: จากรอยโรค 76 ตำแหน่ง ในกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วย ค่า AUC (Area under the ROC curve ) ในการวินิจฉัยโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก เท่ากับ 0.86 (T2W), 0.86 (DWI), 0.95 (MRS) และ 0.61 (DCE) ค่า AUC ของ T2W+DWI, T2W+MRS และ T2W+DCE เท่ากับ 0.86, 0.92, และ 0.80 ตามลำดับ และค่า AUC ของ T2W+DWI, T2W+DWI+DCE, T2W+DWI+MRS และ T2W+DWI+MRS+DCE เท่ากับ 0.86, 0.82, 0.81, และ 0.78 ตามลำดับ ซึ่งไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป: พารามิเตอร์ DWI เป็นพารามิเตอร์เสริมที่มีประโยชน์ที่สุด รองจากพารามิเตอร์ T2W ซึ่งใช้เป็นพื้นฐานสำหรับการวินิจฉัยโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก อย่างไรก็ตาม พารามิเตอร์ 3D-MRS และ DCE อาจช่วยสนับสนุนการยืนยันตำแหน่งของโรคมะเร็งต่อมลูกหมากได้engMahidol UniversityProstate cancerPeripheral zoneMultiparametric MRIDiagnostic accuracyมะเร็งต่อมลูกหมากบริเวณชั้นนอกพารามิเตอร์ที่ได้จากการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถูกต้องแม่นยำในการวินิจฉัยDiagnostic Accuracy of Multiparametric Magnetic Resonance Imaging in Peripheral Zone Prostate Cancer Detectionความถูกต้องแม่นยำของพารามิเตอร์ต่างๆ ที่ได้จากการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในการวินิจฉัยโรคมะเร็งต่อมลูกหมากบริเวณชั้นนอกOriginal ArticleDepartment of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityDepartment of Pathology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University