Somsak AmornsiriphongNopraenue Sajjarax DhirathitiRatthasirin WangkanondApinya Tissamana2024-01-102024-01-10201820242018Thesis (D.P.A. (Public Policy and Public Management))--Mahidol University, 2018https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92233Public Policy and Public Management (Mahidol University 2018)This research studies the process of deliberative policymaking in environmental conflict resolution concerning water resources in conflict areas in Thailand and constructs a deliberative policy model for water management in order to arrive at an efficient model which will reduce conflicts in this area. Qualitative research methodology was used, employing a qualitative data analysis tool, the MAXQDA program, for analyzing deliberative water management policy models in Thailand. The study reviews relevant literatures and case studies concerning deliberative policy-making processes for conflict resolution relating to water management, and pursues desirable mutual agreements regarding water management in Thailand. It is very necessary to apply the concept and theory of the deliberative public policy in state and non - state action plans to ensure effective participation in public policy with availability, equality and fairness. The deliberative democracy is the preparative stage of the extensive discourse and discussion in decision making. When people come together on a common stage to discuss their common environments, people learn the value of an ecological environment while reflecting on the concept and their actions so as to accelerate the process of change, especially in the joint consideration of new alternatives after the deliberative process. The area of study in this research covers some administrative sections of the Royal Irrigation Department, which operates under the Ministry of Agriculture and Cooperatives. These administrative sections have direct responsibilities related to water management, deliberative policymaking process and the stakeholders of the policies. The case studies chosen in this research consist of two irrigation project sites: 1) The Kraseaw Irrigation and Maintenance Project in Dan Chang district, Suphanburi province,Thailand, and; 2) The Chonlahan Pichitra Irrigation and Maintenance Project in Klong Dan district, Samutprakarn province. These two irrigation projects are exceptionally successful cases of local water management in which deliberative policy-making processes were used to reduce conflicts in water management, hence, suitable for being case studies in this research - especially Kraseaw Irrigation and Maintenance Project, which received a participatory water management award from United Nations. The results reveal that the Joint Management Committee for Irrigation (JMC) of the Kraseaw Irrigation and Maintenance Project in Dan Chang district, Suphanburi province, has greater success now that the deliberative process is employed. The important finding in the case study of the Chonlahan Pichitra Irrigation and Maintenance Project, Samutprakarn province was that two-way communication is necessary in informal and formal peace talk processes in deliberative water management policy. Recommendations from this study include a public policy and implementation process based on the deliberative model, or on discussions with the people of the society regarding their lives and routines, with the expectation that this may improve society and life - especially in conflict resolution in water management policies in Thailand.การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษากระบวนการปรึกษาหารือในนโยบายการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเด็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในประเทศไทยและการสร้างรูปแบบนโยบายแบบปรึกษาหารือบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อค้นหารูปแบบที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งในประเด็นต่าง ๆ กระบวนการวิธีในงานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพและผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปแกรม MAXQDA ในการวิเคราะห์ข้อมูล สำหรับการทบทวนวรรณกรรมสำหรับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกรณีศึกษาคือ กระบวนการนโยบายแบบปรึกษาหารือเพื่อลดความขัดแย้งในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในประเทศไทย เนื่องด้วยประเด็นการมรส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพในนโยบายสาธารณะด้วยศักยภาพ คุณภาพ และเป็นธรรมของนโยบายมีความจำเป็นในการประยุกต์ใช้แนวความคิดและทฤษฎีนโยบายแบบปรึกษาหารือในแผนงานของหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่ไม่ใช่ภาครัฐ ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือเป็นการกระบวนการหารือเพื่อเตรียมพร้อม การถกแถลงการณ์หารืออย่างกว้างขวางในกระบวนการตัดสินใจในนโยบาย เมื่อประชาชนพลเมืองได้เรียนรู้คุณค่าของของระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมในขณะเดียวกันได้สะท้อนความเป็นแนวคิดในการจัดการของประชาชนพลเมืองในกระบวนการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อพิจารณา สำหรับทางเลือกใหม่ร่วมกันในกระบวนการปรึกษาหารือพื้นที่ในการศึกษาวิจัยเป็นพื้นที่การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของกรมชลประทานซึ่งอยู่ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ซึ่งกรณีศึกษาในพื้นที่การศึกษานี้ มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงกับการบริหารจัดการน้ำกระบวนการปรึกษาหารือ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบาย พื้นที่กรณีศึกษาที่เลือกในการศึกษาวิจัยนี้ประกอบด้วย 1) โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาน้ำกระเสียว จ.สุพรรณบุรี 2) โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาน้ำชลหารพิจิตร จ.สมุทรปราการโดยทั้งสองโครงการฯนี้ เป็นโครงการที่โดดเด่นในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากรน้ำ ด้วยกระบวนการนโยบายแบบปรึกษาหารือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการส่งน้ำบำรุงรักษาน้ำกระเสียว จ. สุพรรณบุรีได้รับรางวัลการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมของสหประชาชาติ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำ (JMC) ที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาน้ำกระเสียว จ.สุพรรณบุรี เป็นกลุ่มที่สร้างกระบวนการปรึกษาหารือหลักในการนโยบายการบริหารจัดการน้ำที่กระเสียว และ สำหรับกรณีศึกษาที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาน้ำที่ชลหารพิจิตร จ. สมุทรปราการ กระบวนการสื่อสารสองทางในการพูดคุยสันติวิธีในการหาทางออกร่วมในการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในระดับทางการและไม่ทางการเป็นส่วนสำคัญในสนโยบายแบบปรึกษาหารือ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยครั้งนี้คือ ในนโยบายสาธารณะและการปฏิบัติในนโยบายขึ้นอยู่บนพื้นฐานรูปแบบปรึกษาหารือของประชาชนพลเมืองในสังคมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตและวิถีชีวิตประจำวันที่จะปรับปรุงสังคมและชีวิตให้ดีขึ้นได้โดยผ่านกระบวนการปรึกษาหารือโดยเฉพาะอย่างยิ่งในนโยบายปรึกษาหารือเรื่องการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในประเทศไทยxii, 191 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าConflict management -- ThailandPolicy networksWater resources development -- Political aspectsWater-supply -- Political aspectsDeliberative policy model for conflict resolution in water managementรูปแบบนโยบายสาธารณะแบบปรึกษาหารือเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในการบริหารจัดการน้ำDoctoral ThesisMahidol University