นพพร ว่องสิริมาศNopporn Vongsirimasยาใจ สิทธิมงคลYajai Sitthimongkolนงลักษณ์ วิรัชชัยNonglak WiratchaiLinda S. Beeberโสภิณ แสงอ่อนSopin Sangornมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกา. มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา. โรงเรียนพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์2018-02-162018-02-162018-02-162554วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ. เพิ่มเติม 2), ฉบับที่ 3 (ก.ค - ก.ย. 2554), 19-28https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/8742วัตถุประสงค์: เพื่อทดสอบความเที่ยงและความตรงของแบบวัดความผูกพันบิดามารดา-บุตรสําหรับใช้ในวัยรุ่นที่มี มารดาซึมเศร้า รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเครื่องมือวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้ใช้ข้อมูลจากงานวิจัยในอดีตที่ศึกษาในวัยรุ่นที่มีมารดาซึมเศร้า จํานวน 460 คน โดยทดสอบความตรงเชิงโครงสร้างด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันจากโปรแกรมลิสเรลและทดสอบความเชื่อมั่นด้วยการคํานวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ผลการวิจัย: ผลการวิเคราะห์พบว่าค่าไคร์สแควร์ (chi-square) = 287.61, df = 256, p-value = 0.085, RMSEA = 0.016, GFI = 0.96, AGFI = 0.93 ซึ่งสนับสนุนว่าแบบวัดมี 2 องค์ประกอบ คือ การรับรู้การเลี้ยงดูแบบดูแล และการรับรู้การเลี้ยงดูแบบควบคุม ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.88 สําหรับองค์ประกอบการรับรู้การเลี้ยงดูแบบดูแล และมีค่าเท่ากับ 0.80 สําหรับองค์ประกอบการรับรู้การเลี้ยงดูแบบควบคุม สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการทดสอบพบว่าแบบวัดความผูกพันบิดามารดา-บุตรเป็นแบบวัดที่มีความน่าเชื่อถือที่จะนําไปใช้ในการวัดความผูกพันระหว่างบิดามารดาและบุตรในวัยรุ่นไทยที่มีมารดาซึมเศร้าได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ทั้งในทางการศึกษาวิจัยและทางคลินิกPurpose: To test for reliability and construct validity of the Parental Bonding Instrument (PBI) – Thai version for use in adolescents with depressed mothers.Design: Methodological research. Methods: Data from a previous study of 460 adolescents with depressed mothers were used to assess construct validity by conducting a confirmatory factor analysis through LISREL, and reliability by calculating Cronbach’s alpha coefficient. Main findings: The analysis yielded satisfactory results of chi-square = 302.30, df = 266, p-value = 0.062, RMSEA = 0.017, GFI = 0.96, AGFI = 0.93 The results support that the PBI consists of two components: caring and overprotection. Cronbach’s alpha coefficients were 0.88 for caring and 0.80 for overprotection components.Conclusion and recommendations: Findings indicate that the PBI is a reliable measure for use in Thai adolescents with depressed mothers. This instrument will be of great benefit for use as an assessment tool for both research and clinical purposes.thaมหาวิทยาลัยมหิดลมารดาซึมเศร้าแบบวัดความผูกพันบิดามารดา-บุตรวัยรุ่นไทยOpen Access articleJournal of Nursing Scienceวารสารพยาบาลศาสตร์แบบวัดความผูกพันบิดามารดา-บุตร (ฉบับภาษาไทย): การทดสอบคุณภาพเครื่องมือสําหรับใช้ในวัยรุ่นที่มีมารดาซึมเศร้าThe Parental Bonding Instrument (Thai Version): Psychometric Testing for Use in Adolescents with Depressed MothersArticleคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล