Wai Lynn KyiAroonsri MongkolchatiJiraporn ChompikulSomsak WongsawassMahidol University. ASEAN Institute for Health Development2017-06-302017-06-302017-06-292015Journal of Public Health and Development. Vol. 13, No.3 (Sep - Dec 2015), 81-941905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2423This cross sectional study aimed to explore the prevalence and predictors of exclusive breastfeeding practices in Pan-Ta-Naw Township, Ayyerwaddy Region, Myanmar. Two-stage stratified sampling was used to randomly select a sample of 403 mothers who have a child aged 6-12 months. They were interviewed both in rural and urban hospitals. The research instrument was consisted of 43 questions.Chi-square tests and multiple logistic regressions were performed to examine factors associated with exclusive breastfeeding. The prevalence of the first six-month exclusive breastfeeding was 15%. This study found that most mothers introduced water and rice to their infant as well as breast feeding, and very few mothers used formula milk, juice or cow’s milk. The following factors were significant associations with exclusive breast feeding: place of residence (Adj.OR=5.88, 95%CI=2.02- 17.12), marital status (Adj.OR=6.34, 95%CI=1.76-22.90), mother’s education(Adj.OR=6.72, 95%CI=1.52-29.61), mother’s occupation (Adj.OR=5.94, 95%CI=2.23-15.81), places of delivery (Adj.OR=7.29, 95%CI=2.48-21.38), ANC visit at least 4 times (Adj.OR=27.02, 95%CI=7.57-96.49), and knowledge about breastfeeding (Adj.OR=10.84, 95%CI=3.11-37.77). The strongest predictor was making ANC visits at least 4 times. This study found that mothers in both rural and urban area were likely to have little understanding about exclusive breast feeding; hence, health education regarding to this issue should be promoted. As the frequency of ANC visits has been showed to be the strongest significant factors, enhancing the mother’s knowledge about breastfeeding should be considered to include in the ante-natal period of services in health centres.วัตถุประสงค์ของการศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้เพื่อสำรวจความชุกและปัจจุยที่สามารถทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียวในเมืองปันตานาว แขวงอิรวาดี ประเทศพม่า โดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิสองขั้นตอน ได้ตัวอย่างที่เป็นมารดา ซึ่งมีบุตรอายุ 6 – 12 เดือน จำนวน 403 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ที่โรงพยาบาลในเขตเมืองและชนบท เครื่องมือ ในการวิจัยประกอบด้วยคำถาม 43 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยไคสเควร์และการถดถอยลอจิสติคพหุคูณเพื่อสำรวจปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ความชุกของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวช่วง 6 เดือนแรกของชีวิตเท่ากับ 15% การศึกษานี้พบว่ามารดาส่วน ใหญ่ให้ลูกกินน้ำและข้าวพร้อมกับนมแม่และมีมารดาบางคนทีให้ลูกกินนมขวด น้ำผลไม้และนมวัวปัจจัยต่อไปนี้มีความ สัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว สถานที่อยู่อาศัย (Adj OR = 5.88, 95% CI = 2.02 – 17.12) สถานภาพสมรส (Adj OR = 6.34, 95% CI = 1.76 – 22.90) การศึกษาของมารดา (Adj OR = 6.72, 95% CI = 1.52 -29.61) อาชีพของมารดา (Adj OR = 5.94, 95% CI = 2.23 – 15.81) สถานที่คลอดบุตร (Adj OR = 7.29, 95% CI 2.48 – 21.38) การไปรับบริการที่คลินิคฝากครรภ์อย่างน้อย 4 ครั้ง (Adj OR = 27.02, 95% CI = 7.57 – 96.49) และ ความรู้เกี่ยงกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (Adj OR = 10.84, 95% CI 3.11 – 37.77) ปัจจัยที่ทำนายการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่ อย่างดียวได้ดีที่สุดคือการไปคลินิคฝากครรภ์อย่างน้อย 4 ครั้ง การศึกษานี้พบว่ามารดาทั้งในชนบทและเมืองมีความรู้เข้าใจเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวน้อยมาก ควรส่งเสริม การให้สุขศึกษาเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เนื่องจากการไปคลินิคฝากครรภ์อย่างน้อย 4 ครั้ง เป็นตัวทำนายที่ดีที่สุด ดังนั้นจึงควรส่งเสริมการให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในคลินิกฝากครรภ์ที่สถานีอนามัยต่างๆengMahidol UniversityExclusive breastfeedingAntenatal careFeeding practiceInfant feedingOpen Access articleJournal of Public Health and DevelopmentวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาPrevalence and associated factors of exclusive breastfeeding among mothers in Pan-Ta-Naw township, Myanmarความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่อย่างเดียวของแม่ในเมืองปันตานาว ประเทศพม่าOriginal ArticleASEAN Institute for Health Development. Mahidol University