Sarawut ThepanondhSopa ChinwetkitvanichSuphaphat KwonpongsagoonNeungrothai Saeaw2024-02-072024-02-07201420142014Thesis (M.Sc. (Environmental Technology))--Mahidol University, 2014https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95287Environmental Technology (Mahidol University 2014)Emission sources of volatile organic compounds (VOCs) were determined in this study. Monitoring data of airborne VOCs, measured by the Pollution Control Department from January 2009 to December 2013 in Maptaphut and Dindaeng (Bangkok) area were analyzed using a Positive Matrix Factorization (PMF) model to identify and elaborate their source profile. Spatial evaluation of the PMF model indicated that the source profiles could be categorized into eleven factors for compositions of VOCs in both areas. Based on their contribution, emission sources of VOCs in the Maptaphut area were grouped into three to five categories. Mobile sources contributed about 42 to 57% of total VOCs, industrial sources 15 to 44% of total VOCs and chemical use in households, 3 to 10% of total VOCs for Maptaphut and Dindaeng, respectively. Temporal analysis by the PMF model was carried out by comparing the measured data in the year 2011 and the year 2013. Results from the PMF analysis revealed that there were three to five groups of emission sources, which contributed to total VOCs concentrations. The mobile sources' contribution was about 49.7%, 43.4% of total VOCs, while the industrial sources' contribution was about 27.8% and 24.1% of total VOCs in 2011 and 2013, respectively. Major emission sources of VOCs in the Maptaphut area appeared to be both from mobile and industrial sources. It was also found that concentrations of VOCs in 2013 were lower than those measured in 2011. Therefore, an effort to control both mobile and industrial emission sources should be implemented for solving the VOCs problem in the Maptaphut area.งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาหาแหล่งกำเนิดของสารอินทรีย์ระเหยง่าย โดยนำข้อมูลการตรวจวัด ความเข้มข้นของสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ ที่ตรวจวัดโดยกรมควบคุมมลพิษ บริเวณพื้นที่มาบตา พุด จังหวัดระยอง และดินแดง (กรุงเทพฯ) ประเทศไทย ใช้ข้อมูลความเข้มข้นเดือนมกราคม พ.ศ.2552 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 โดยใช้โมเดล Positive Matrix Factorization (PMF) ในการวิเคราะห์ระบุและ อธิบายแหล่งกำเนิดมลพิษ การแปรผลข้อมูลเชิงพื้นที่โดยใช้ PMF สามารถประเมินค่าการกระจายตัวของสารอินทรีย์ ระเหยง่ายและผลการวิเคราะห์หาแหล่งกำเนิดระบุได้ 11 factors ทั้ง 2 พื้นที่ โดยสามารถจัดกลุ่มของ แหล่งกำเนิดสารได้ 3-5 กลุ่ม ประกอบด้วย แหล่งกำเนิดจากยานพาหนะ คิดเป็น 42-57% ของ total VOCs รองลงมาคือ แหล่งกำเนิดที่มาจากอุตสาหกรรม (15-44% ของ total VOCs) และสารเคมีที่ใช้ในครัวเรือน (3-10% ของ total VOCs) การแปรผลข้อมูลเชิงเวลา โดยใช้ PMF model ซึ่งใช้ข้อมูลการตรวจวัดความเข้มข้นของ สารอินทรีย์ระเหยง่ายเปรียบเทียบระหว่างปีพ.ศ. 2554 และปี พ.ศ. 2556 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเวลา พบว่า PMF สามารถระบุแหล่งกำเนิดได้ 3 ถึง 5 กลุ่ม ในพื้นที่มาบตาพุด ประกอบด้วย แหล่งกำเนิดจาก ยานพาหนะ 49.7%, 43.4% ของ total VOCs ในปีพ.ศ. 2554 และ 2556 ตามลำดับ รองลงมาคือ แหล่งกำเนิดที่มาจากอุตสาหกรรม 27.8%, 24.1% ของ total VOCs ในปี พ.ศ. 2554 และ 2556 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบแหล่งกำเนิดจากการใช้สารเคมีในครัวเรือนและแหล่งกำเนิดที่เป็นสารที่มีอยู่ใน สิ่งแวดล้อมแต่เป็นปริมาณการระบายที่น้อย ดังนั้น ในพื้นที่มาบตาพุดจึงมีแหล่งกำเนิดหลักมาจาก ยานพาหนะและอุตสาหกรรม นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบพบว่า ในปี พ.ศ. 2556 ระดับความ เข้มข้นของสาร VOCs มีค่าลดลงกว่าในปี พ.ศ. 2554 ดังนั้น ในการแก้ปัญหาสารอินทรีย์ระเหยง่ายในพื้นที่มาบตาพุดจึงควรให้ความสำคัญกับ แหล่งกำเนิดประเภทยานพาหนะควบคู่ไปกับการแก้ปัญหาแหล่งกำเนิดประเภทอุตสาหกรรมxvi, 219 leaves : ill. (some col.)application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าAir quality -- Thailand -- RayongOrganic compounds -- Environmental aspects.Volatile organic compoundsSource apportionment analysis of airborne VOCs using Positive Matrix Factorization in Maptaphut, Thailandการวิเคราะห์แหล่งกำเนิดของสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยใช้ Positive Matrix Factorization (PMF) ในพื้นที่มาบตาพุดMaster ThesisMahidol University